Page 99 -
P. 99

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





              ความจ�าเป็นต่ออาชีพในอนาคต ภาษาอังกฤษมีประโยชน์ และอยากพูดให้เก่ง กลุ่มที่ไม่ชอบการพูดภาษา

              อังกฤษอย่างเป็นทางการ ได้ให้เหตุผลว่ารู้สึกไม่มีความไม่มั่นใจ ท้อแท้ อาย กลัวพูดผิด คิดว่าตัวเองท�าไม่ได้

                       3.2  กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 90 มีความเห็นว่าผู้สอนมีอิทธิพลต่อการพัฒนาการพูด

              ภาษาอังกฤษอย่างเป็นทางการ  สามารถท�าให้เกิดแรงกระตุ้นอยากพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษให้มากขึ้น
              หรืออาจเป็นแรงกดดันต่อผู้เรียนท�าให้ไม่ชอบการพูดภาษาอังกฤษและไม่อยากเรียน ส่วนผู้สอนและวิธีการ

              สอนที่ผู้เรียนส่วนใหญ่ชอบและคิดว่าจะช่วยให้เกิดการพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษได้คือ ผู้สอนที่ไม่กดดัน
              ยิ้มแย้มแจ่มใส ให้ก�าลังใจท�าให้เกิดความกล้า เข้าใจผู้เรียนและไม่น�าผู้เรียนแต่ละคนไปเปรียบเทียบกัน

                       3.3  ประชากรกลุ่มตัวอย่างจ�านวนร้อยละ 90 มีความเห็นสอดคล้องกันว่าหลักสูตรการเรียนการ

              สอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษามุ่งเน้นในเรื่องการท่องศัพท์ ไวยากรณ์ ไม่มีกิจกรรมการพูดให้
              ปฏิบัติ ขาดการฝึกฝนเพื่อน�าไปใช้จริง ท�าให้พูดไม่ได้และไม่มีความมั่นใจในการพูด


                       3.4  ปัญหาในการพูดภาษาอังกฤษอย่างเป็นทางการ  กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาในเรื่องของการใช้
              ค�าศัพท์มากที่สุด เช่น จ�าค�าศัพท์ไม่ได้ ไม่รู้จะใช้ค�าศัพท์ใด ใช้ค�าศัพท์ไม่หลากหลาย รองลงมาคือไวยากรณ์

              การเรียงประโยค และการใช้ค�าเชื่อม



              การอภิปรายผลการวิจัยในภาพรวม

                       จากผลการศึกษาทั้ง  3  ส่วนคือ  แบบสอบถาม  การสังเกตพฤติกรรมในห้องเรียน  และ
              การสัมภาษณ์ในเชิงลึกแบบมีโครงสร้างพบว่า  ปัญหาการพูดภาษาอังกฤษอย่างเป็นทางการในที่ชุมชน

              ได้แก่ การพูดติดขัด มีค�าศัพท์จ�านวนจ�ากัด ขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร และขาดทักษะ
              การคิดเชิงวิเคราะห์ ปัญหาเหล่านี้ท�าให้ประชากรกลุ่มตัวอย่างรู้สึกขาดความมั่นใจ ดังเช่นเมื่อถูกถามว่า

              ได้อะไรจากการเรียนวิชาการสื่อสารด้วยวาจา เป็นที่น่าสังเกตว่าประชากรกลุ่มตัวอย่างจ�านวนมากตอบว่า
              มีความกล้า มีความมั่นใจมากขึ้น บุคลิกภาพดีขึ้น และสามารถน�าความรู้ความสามารถไปใช้ได้จริง


                       เลขา  ปิยะอัจฉริยะ  (2524:  237-279)  ให้ความหมายของความมั่นใจในตัวเองว่า  เป็นความ
              นึกคิดเกี่ยวกับบุคคลที่เชื่อว่าตนมีความสามารถ  มีคุณค่า  ยอมรับและพอใจในความเป็นตนเองแล้วย่อม

              สร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้นได้ จากค�าจ�ากัดความดังกล่าวจะเห็นว่าผู้เรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างขาดความเชื่อ
              มั่นในตนเอง เพราะคิดว่าตนเองขาดความรู้ความสามารถและทักษะการพูด พูดภาษาอังกฤษไม่เก่ง รู้ศัพท์

              น้อย และรู้สึกไม่พอใจกับระดับความรู้ด้านภาษาอังกฤษของตนเอง ความนึกคิดเช่นนี้ส่งผลให้ขาดความเชื่อ
              มั่นในการพูด ดังจะเห็นได้จากผลการวิจัยทั้งในส่วนของแบบสอบถามที่กลุ่มตัวอย่างระบุว่ามีปัญหาการพูด

              ติดขัด คิดค�าศัพท์ไม่ออก ออกเสียงไม่ถูก ตื่นเต้น กังวล ซึ่งสอดคล้องกับผลจากการสังเกตพฤติกรรมการ





                                                          วารสารมนุษยศาสตร์  ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554  91
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104