Page 197 -
P. 197

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                    ระยะ 6 ดอกบาน (anthesis) (ภาพที่ 6.2) เป็นระยะที่กาบบนและกาบล่างของดอกข้าวแย้ม
            ในตอนเช้า เปิดช่องให้ก้านชูอับเรณูยืดตัวเพื่อยื่นอับเรณูออกมา ขณะนั้นอับเรณูแตกและถ่ายเรณู ต่อมา
            กาบบนและกาบล่างของดอกข้าวปิด การบานของดอกข้าวจะเกิดขึ้นเป็นล�าดับ จากดอกส่วนปลายมายัง

                                                     ส่วนกลางและส่วนล่างของช่อดอกตามล�าดับ  ใช้เวลา
                                                     ประมาณ 7 วัน ทุกดอกจึงบานได้หมด การปรากฏของ
                                                     ช่อดอกที่บางแขนงในระยะ 5 และ 6 ท�าให้จ�าแนกแขนง

                                                     ในกอแบ่งเป็น  2  ประเภท  คือ  แขนงมีรวง  (bearing
                                                     tillers) และแขนงไม่มีรวง (nonbearing tillers)

                                                             เมื่อสิ้นสุดระยะเจริญพันธุ์  จะได้ทราบจ�านวน
                                                     แขนงที่มีรวงของแต่ละกอ จึงเป็นระยะที่ก�าหนดจ�านวน

            ภาพที่  6.2    เมื่อช่อดอกโผล่พ้นใบธง    รวงต่อกอหรือต่อพื้นที่ ขนาดช่อดอกหรือจ�านวนดอกย่อย
            ดอกย่อยก็บาน  มีอับเรณู  (anther)        ในหนึ่งช่อดอก
            ออกมาให้เห็น                                     ดอกข้าวในช่อดอกจะเริ่มบานตั้งแต่ช่อดอกออก

            ที่มา: https://earth.stanford.edu/       เกือบพ้นกาบใบธง ดอกข้าวจะบานจากดอกที่อยู่ปลาย
            news/more-frequent-extreme-heat-         ลงมายังโคนช่อดอก  โดยดอกแต่ละช่อจะใช้เวลาบาน
            during-flowering                         4-7 วัน เมื่อดอกเริ่มบานอับเรณู (anther) ที่มี 6 อัน จะ

                                                     แตกออก ท�าให้ละอองเรณูหรือเม็ดเรณู (pollen grain)
            ที่มีอยู่มากมายในแต่ละกะเปาะ รวงหล่นลงใส่ยอดเกสรเพศเมีย (stigma) ซึ่งมีอยู่ 2 อัน (มีลักษณะคล้าย
            หนวดผีเสื้อกลางคืน) ท�าให้เกิดการปฏิสนธิหรือผสมติด (fertilization) ได้ไซโกต (zygote) ซึ่งเป็นเซลล์

            ที่เกิดจากการรวมกันของเซลล์เพศสองเซลล์ ดอกที่ผสมติดจะเจริญเติบโตเป็นเมล็ดข้าว
                 2.3 วัฏภาคเติมเต็มเมล็ดหรือสุกแก่
                    วัฏภาคเติมเต็มเมล็ด  (spikelet  filling  phase)  หรือวัฏภาคสุกแก่  (ripening  phase)  เป็น

            ระยะที่ก�าหนดขนาดและน�้าหนักเมล็ด  เนื่องจากมีการเคลื่อนย้ายคาร์โบไฮเดรตจากใบและต้นมาสะสม
            ท�าให้เมล็ดโตขึ้น  จนมีสภาพสุกแก่เชิงสรีระ  พร้อมส�าหรับการเก็บเกี่ยว  การสังเคราะห์แสงของใบข้าว

            ตั้งแต่ระยะตั้งท้อง  ช่อดอกโผล่  ดอกบานและเมล็ดสุกแก่  มีความส�าคัญต่อการเพิ่มน�้าหนักเมล็ดข้าว
            เป็นอย่างมาก เนื่องจากกว่า 60 % ของคาร์โบไฮเดรตที่สะสมในเมล็ดมาจากการสังเคราะห์แสงช่วงนี้
            วัฏภาคเติมเต็มเมล็ดแบ่ง 3 ระยะ คือ ระยะ 7-9 ดังนี้

                    ระยะ 7 เมล็ดข้าวระยะน�้านม (milk grain stage) เมล็ดข้าวมีสีเขียว แป้งที่สะสมภายในเมล็ด
            มีสภาพเป็นของเหลวสีขาวขุ่นคล้ายน�้านม

                    ระยะ 8 เมล็ดข้าวระยะแป้งอ่อน  (dough  grain  stage)  แบ่งเป็น  (1)  ช่วงแป้งอ่อน  (soft
            dough  stage)  เมล็ดข้าวเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลือง  แป้งในเมล็ดค่อยๆ  ข้นขึ้นตามล�าดับกลายเป็นแป้งนิ่ม
            และ (2) ช่วงแป้งแข็ง (hard dough stage) เนื้อแป้งจะแข็งขึ้นเรื่อยๆ จนมีความชื้นมากกว่า 22 %



                    ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว                              การเจริิญเติบโตของข้าว  193
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202