Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



           56   พันธุศาสตร์ประชากร
                  สำาหรับการปรับปรุงพันธุ์


                                                                                           53
                                    บทที่ 1องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการเข้าสู่สมดุลของประชากร
           หลังจากที่ค�านวณหาจ�านวนต้นที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจริงในประชากรแล้ว ท�าการตรวจสอบค่าไคสแควร์ ดังนี้

                   จีโนไทป์                 i O                 i E                i (O      i E  i  -E ) 2


                    AABB                  2                   2.56                0.12
                   AABb                   12                 10.88                0.12
                   AAbb                   20                 11.56                6.16
                    AaBB                  2                   5.12                1.90
                    AaBb                  18                 21.76                 0.65
                    Aabb                  12                 23.12                 5.35
                    aaBB                  12                  2.56                34.81
                    aaBb                  2                  10.88                 7.25
                    aabb                  20                 11.56                 6.16
                    รวม                  100                  100                 62.52

                    จะเห็นได้ว่าผลรวมของค่าไคสแควร์มีค่าเท่ากับ 62.52 ซึ่งเมื่อเปิดตารางไคสแควร์ที่ 0.05 พบว่า มีค่า
                  จะเห็นได้ว่า ผลรวมของค่าไคสแควร์เท่ากับ 62.52 เมื่อเปิดตารางไคสแควร์ที่ 0.05 ที่ df
            มากกว่า 11.07 นั่นคือ ประชากรนี้ไม่อยู่ในสมดุล โดย dfของตารางไคสแควร์เท่ากับ 5 คิดมาจาก ผลต่างของ
           ของตารางไคสแควร์เท่ากับ 5 คิดมาจาก ผลต่างของจ�านวนจีโนไทป์กับจ�านวนของอัลลีลที่ปรากฏ
            จํานวนจีโนไทป์กับจํานวนของอัลลีลที่ปรากฏ
           พบว่า มีค่ามากกว่า 11.07 นั่นคือ ประชากรนี้ไม่อยู่ในสภาพสมดุล
            การทดสอบการเกาะติดกันของยีน (test of linkage)
           กำรทดสอบกำรเกำะติดกันของยีน (test of linkage)
                   ในการตรวจสอบการเกาะติดกันของยีนสามารถใช้ค่าไคสแควร์ตรวจสอบได้จากอัตราส่วนของฟีโน

             ไทป์ที่เกิดขึ้น ซึ่งถ้าลักษณะที่ต้องการตรวจสอบมียีนที่ควบคุม 2 ยีน เมื่อพิจารณาที่ประชากรชั่วที่ 2 จะพบว่า
                  ในการตรวจสอบการเกาะติดกันของยีนสามารถใช้ค่าไคสแควร์ตรวจสอบได้จากอัตราส่วนของ
            ถ้าไม่มีการเกาะติดกันของยีน อัตราส่วนของฟีโนไทป์ที่เกิดขึ้น A_B_: A_ bb : aaB_ : aabb เท่ากับ 9 : 3 : 3
           ฟีโนไทป์ที่เกิดขึ้น ถ้าลักษณะที่ต้องการตรวจสอบมียีนที่ควบคุม 2 ยีน เมื่อพิจารณาที่ประชากร
            : 1 หรือไม่ โดยมีการตั้งสมมติฐานว่า ยีนทั้ง 2 ตําแหน่งอยู่บนโครโมโซมต่างคู่กัน เมื่อเปิดตารางค่าไคสแควร์
           ชั่วที่ 2 พบว่า ถ้าไม่มีการเกาะติดกันของยีน อัตราส่วนของฟีโนไทป์ที่เกิดขึ้น A_B_ : A_ bb : aaB_ :
            แล้วถ้าค่าที่คํานวณได้มีค่าน้อยกว่าค่าไคสแควร์ของตารางแสดงว่า ยีนทั้ง 2 ตําแหน่งจะอยู่คนละโครโมโซม
           aabb เท่ากับ 9 : 3 : 3 : 1 หรือไม่ ท�าการตั้งสมมติฐานว่า ยีนทั้ง 2 ต�าแหน่งอยู่บนโครโมโซมต่างคู่กัน
            หรือไม่เกิดการเกาะติดของยีน
           เมื่อเปิดตารางค่าไคสแควร์แล้วถ้าค่าที่ค�านวณได้มีค่าน้อยกว่าค่าไคสแควร์ของตาราง  แสดงว่า

           ยีนทั้ง 2 ต�าแหน่งจะอยู่คนละโครโมโซมหรือไม่เกิดการเกาะติดของยีน




            ตัวอย่างกําหนดให้สีเมล็ดควบคุมด้วยยีน A โดยเมล็ดสีเขียวควบคุมด้วยยีน A และเมล็ดสีเหลืองควบคุมด้วย

            ยีน a ส่วนลักษณะผิวของเมล็ดควบคุมด้วยยีน B โดยเมล็ดที่มีผิวเรียบควบคุมด้วยยีน B และเมล็ดที่ผิวขรุขระ
            ควบคุมด้วยยีน b เมื่อทําการผสมระหว่าง AABB กับ aabb แล้วจะได้รุ่น F 1ที่มีจีโนไทป์เป็น AaBb เมื่อทําการ
            ผสมตัวเองจะได้ประชากรรุ่น F 2ที่มีฟีโนไทป์เป็น เมล็ดมีสีเขียวผิวเรียบ A_B_ 200 ต้น เมล็ดมีสีเขียวผิวขรุขระ

            A_bb 80  ต้น เมล็ดมีสีเหลืองผิวเรียบaaB_70 ต้น และเมล็ดมีสีผิวเหลืองผิวขรุขระaabb  50  ต้น ทําการ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68