Page 58 -
P. 58
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และการเข้าสู่สมดุลของประชากร 51
บทที่ 1 องค์ประกอบทางพันธุกรรม
นอกจากนี้ สามารถหาความถี่ของจีโนไทป์ จากการค�านวณต�าแหน่งของยีนแต่ละต�าแหน่ง
เมื่อพิจารณาต�าแหน่ง A จะมีความถี่ของจีโนไทป์ 0.4096 AA + 0.4608 Aa + 0.1296 aa
ความถี่ของยีน A (p) 0.4096 + ½(0.4608) = 0.64
ความถี่ของยีน a (q) 0.1296 + ½(0.4608) = 0.36
เมื่อพิจารณาต�าแหน่ง B จะมีความถี่ของจีโนไทป์ 0.4096 BB + 0.4608 Bb + 0.1296 bb
ความถี่ของยีน B (u) 0.4096 + ½(0.4608) = 0.64
ความถี่ของยีน b (v) 0.1296 + ½(0.4608) = 0.36
ความถี่ของเซลล์สืบพันธุ์ AB ในสภาพสมดุลที่สร้างขึ้น pu = 0.64 × 0.64 = 0.4096
ความถี่ของเซลล์สืบพันธุ์ Ab ในสภาพสมดุลที่สร้างขึ้น pv = 0.64 × 0.36 = 0.2304
ความถี่ของเซลล์สืบพันธุ์ aB ในสภาพสมดุลที่สร้างขึ้น qu = 0.36 × 0.64 = 0.2304
ความถี่ของเซลล์สืบพันธุ์ ab ในสภาพสมดุลที่สร้างขึ้น qv = 0.36 × 0.36 = 0.1296
0.1677 AABB 0.1888 AABb 0.0531 AAbb
Z = 0.1888 AaBB 0.2124 AaBb 0.0596 Aabb
n
0.0531 aaBB 0.0596 aaBb 0.0169 aabb
38 พันธุศาสตร์ประชากรกับการปรับปรุงพันธุ์
ความถี่ของ ความถี่ของเซลล์สืบพันธุ์
จีโนไทป์ (0) (0) (0) (0)
Ab
จีโนไทป์ g 11 g 12 AB g aB g ab
22
21
AABB 0.1677 0.1677 - - -
AABb 0.1888 0.0944 0.0944 - -
AAbb 0.0531 - 0.0531 - -
AaBB 0.1888 0.0944 - 0.0944 -
AaBb 0.2124 0.0531 0.0531 0.0531 0.0531
Aabb 0.0596 - 0.0298 - 0.0298
aaBB 0.0531 - - 0.0531 -
aaBb 0.0596 - - 0.0298 0.0298
aabb 0.0169 - - - 0.0169
รวม 1 0.4096 0.2304 0.2304 0.1296
เมื่อมีการผสมพันธุ์กันอย่างสุ่มในประชากร จะมี ความถี่ของจีโนไทป์ที่เกิดขึ้นเท่ากับ
พ่อ
�. ������ �. ������ �. ������ �. ������
แม่
�. ������ 0.1678AABB 0.0944AABb 0.0944AaBB 0.0531AaBb
�. ������ 0.0944AABb 0.0531AAbb 0.0531AaBb 0.0299Aabb
�. ������ 0.0944AaBB 0.0531AaBb 0.0531aaBB 0.0299aaBb
�. ������ 0.0531AaBb 0.0299Aabb 0.0299aaBb 0.0168aabb
0.1678AABB 0.1887 AABb 0.0531AAbb
ความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นลูก � �0.1887AaBB 0.2123AaBb 0.0597Aabb�
0.0531aaBB 0.0597 aaBb 0.0168aabb
ตัวอย่าง การวิจัยของ One et al. (2014) ที่มียีนควบคุมความสูงต้นสบู่ดําและยีนที่ควบคุมลักษณะทรงพุ่ม
จากผลงานวิจัยมีการตรวจสอบค่าไคสแควร์ก่อนว่ายีนทั้ง 2 ตําแหน่งไม่มี linkage กัน จากการเก็บข้อมูลร่วม
ระหว่างความสูงต้นและลักษณะทรงพุ่มพบว่าทั้ง 9 ลักษณะที่แสดงออกมามีจํานวนต้นที่เกิดขึ้นดังเมทริกซ์J �
กําหนดให้ ยีน A ควบคุมลักษณะต้นสูงและยีน B ควบคุมลักษณะทรงพุ่มดังนี้
10AABB 16 AABb 14AAbb
J ��29AaBB 44 AaBb 20Aabb�
�
16aaBB 16 aaBb 18aabb
เริ่มจากทําการคํานวณความถี่ของจีโนไทป์ก่อน ได้ดังนี้
0.0547AABB 0.1585AABb 0.0874AAbb
J ��0.0874AaBB 0.2404AaBb 0.0874Aabb�
�
0.0765aaBB 0.1093aaBb 0.0984aabb