Page 48 -
P. 48

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
         วารสารการจัดการป่าไม้                                                                                                    ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหาร...
         ปีที่ 12 ฉบับที่ 23                                                                        ณรงค์  เกษสา  และคณะ
                                                    46
         การเก็บรวบรวมข้อมูล                           ทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะ
                น�าแบบสอบถามที่จัดสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการ  โลกร้อน ต�าบลจันทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัด

         ทดสอบและได้แก้ไขข้อบกพร่องเรียบร้อยแล้วไป     จันทบุรี ใช้สถิติ t-test กับตัวแปรอิสระที่แบ่งกลุ่มออก
         เก็บรวบรวมข้อมูลกับประชาชนตัวอย่างในพื้นที่   เป็น 2 กลุ่ม และใช้สถิติ F-test กับตัวแปรอิสระที่แบ่ง

         ศึกษาวิจัยตามหมู่บ้านและจ�านวนที่ค�านวณได้    กลุ่มตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป ก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติ
         ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (stratified   ไว้ที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.05) และวิเคราะห์เปรียบ
         sampling) แต่ละหมู่บ้านตามสัดส่วน (proportional   เทียบพหุคูณ (multiple comparison test) ด้วยวิธีการ

         allocation) โดยเก็บข้อมูลกับหัวหน้าครัวเรือน  ของ Scheffe (บุญเรียง, 2542)
         หรือสมาชิกในครัวเรือนซึ่งเป็นตัวแทนของครัว

         เรือนประชาชนตัวอย่างที่มีความรู้ความเข้าใจ                  ผลและวิจารณ์
         เนื้อหาในแบบสอบถามมากที่สุด                   ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนตัวอย่าง
         การวิเคราะห์ข้อมูล                                   1.  เพศ ผลการศึกษาพบว่า ประชาชน

                น�าแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมข้อมูลมา      ตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อย
         ตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ (editing)    ละ 72.48 และในส่วนที่เหลือเป็นเพศหญิง ร้อยละ

         ทุกฉบับ ท�าการลงรหัส (coding) วิเคราะห์ข้อมูล  27.52
         โดยใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมส�าเร็จรูปทาง             2.  อายุ ผลการศึกษาพบว่า ประชาชน
         สังคมศาสตร์ จ�าแนกการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 2   ตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 55 ปี

         ส่วน คือ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และการ  และมีอายุ 46 – 55 ปี ในจ�านวนที่ใกล้เคียงกัน ร้อย
         วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานการศึกษา     ละ 30.53 และ 29.20 ตามล�าดับ มีอายุเฉลี่ย 46.65 ปี

         วิจัย ดังต่อไปนี้                             มากที่สุด 82 ปี และน้อยที่สุด 19 ปี
                1.  การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive       3.  ระดับการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า
         analysis) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางเศรษฐกิจ  ประชาชนตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีการศึกษา

         และสังคมของประชาชนตัวอย่าง และระดับความคิด    ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 50.00 รองลงมามีการ
         เห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหารจัดการ     ศึกษาระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 16.44 น้อยที่สุดมี

         ทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลด  การศึกษาระดับปริญญาโทหรือสูงกว่า ร้อยละ 0.67
         ภาวะโลกร้อน ต�าบลจันทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ           4.  จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน ผลการศึกษา
         จังหวัดจันทบุรี น�าเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบ  พบว่า ประชาชนตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่ มี

         ค�าอธิบายข้อมูล พร้อมแสดงค่าสถิติอย่างง่าย ได้แก่   จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน 3 - 4 คน ร้อยละ 57.72
         ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่าสูงสุด   มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.97 คน มากที่สุด

         (maximum) ค่าต�่าสุด (minimum) และค่าเฉลี่ย (mean)   8 คน และน้อยที่สุด 1 คน
                2.  การวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อความ        5.  อาชีพหลัก ผลการศึกษาพบว่า ประชาชน
         คิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหารจัดการ   ตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53