Page 45 -
P. 45
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหาร...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ณรงค์ เกษสา และคณะ
43
อย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ที่ผ่าน บริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่าง
มา ได้ก�าหนดแผนงานให้หน่วยงานในสังกัดด�าเนิน ยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อน ท้องที่ต�าบลจันทเขลม
โครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี เพื่อต้องการทราบ
อย่างยั่งยืน เพื่อลดภาวะโลกร้อนในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ว่าประชาชนมีความคิดเห็นต่อโครงการดังกล่าวอยู่
ทั่วประเทศ โครงการดังกล่าวจึงเป็นโครงการหนึ่งที่ ในระดับใด ประชาชนมีปัญหา อุปสรรค และข้อ
มีความส�าคัญซึ่งน�ามาใช้เป็นมาตรการหรือแนวทาง เสนอแนะเกี่ยวกับโครงการอย่างไรบ้าง ข้อมูลที่ได้
แก้ไขปัญหาการลดลงและความเสื่อมโทรมของ จากการศึกษาครั้งนี้จะสามารถน�าไปใช้เป็นข้อมูล
ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์มาจนถึงปัจจุบัน ประกอบการปรับปรุงและพัฒนาโครงการบริหาร
ส�านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) จัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อ
เป็นหน่วยงานในส่วนภูมิภาคหน่วยงานหนึ่งใน ลดภาวะโลกร้อน รวมถึงก�าหนดแผนการด�าเนินงาน
สังกัดกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โครงการดังกล่าวในท้องที่จังหวัดจันทบุรี และท้อง
มีพื้นที่ป่าอนุรักษ์เป็นอุทยานแห่งชาติ 7 แห่ง เขต ที่จังหวัดอื่นๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างมี
รักษาพันธุ์สัตว์ป่า 4 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 3 ประสิทธิภาพต่อไป
แห่ง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ได้ก�าหนด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะ
แผนงานปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม ทางเศรษฐกิจและสังคม ระดับความคิดเห็นและเพื่อ
ตามโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่า ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของประชาชนที่
อนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อนในพื้นที่ มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่า
ป่าอนุรักษ์ทุกแห่ง ในส่วนของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ อนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อน ต�าบลจัน
ป่าเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ได้ก�าหนดแผนงาน ทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
ปลูกฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมตามโครงการดังกล่าว
จ�านวน 18 แปลง รวมเนื้อที่ 10,000 ไร่ มีระยะเวลา สมมติฐาน
10 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2561) ทั้งนี้ ท้อง การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ก�าหนดสมมติฐาน
ที่บ้านเกาะลอย หมู่ที่ 5 ต�าบลจันทเขลม อ�าเภอเขา ไว้ว่า ประชาชนที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก
คิชฌกูฏ ได้ด�าเนินการตามโครงการดังกล่าว จ�านวน รายได้ของครัวเรือน ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน การ
2 แปลง รวมเนื้อที่ 800 ไร่ (ส�านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ได้รับข้อมูลข่าวสาร การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม
ที่ 2 (ศรีราชา), 2552) จะเห็นได้ว่า ส�านักบริหาร ประสบการณ์การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ความรู้
พื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ศรีราชา) ได้ด�าเนินโครงการดัง เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน และประชาชนที่มีความรู้
กล่าวในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ในความรับผิดชอบหลาย เกี่ยวกับอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ต่างกัน มีความคิด
แห่ง แต่ในอดีตที่ผ่านมาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยัง เห็นต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่า
ไม่มีการศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ อนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อน ต�าบลจันท
โครงการดังกล่าวแต่อย่างใด ดังนั้น คณะผู้ศึกษาจึง เขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี แตกต่างกัน
ศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการ