Page 44 -
P. 44
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหาร...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ณรงค์ เกษสา และคณะ
42
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม ระดับความคิดเห็น และเพื่อศึกษา
ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลด
ภาวะโลกร้อน ต�าบลจันทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ข้อมูลการศึกษารวบรวมโดยใช้แบบสอบถามไป
สอบถามประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยในท้องที่ต�าบลจันทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี จ�านวน
3 หมู่บ้าน 298 ครัวเรือน วิธีวิเคราะห์ทางสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติ t-test และ F-test ก�าหนดนัย
ส�าคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.05) และการวิเคราะห์เปรียบเทียบพหุคูณ (multiple comparison test)
ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 46.65 ปี มีการศึกษา
ระดับประถมศึกษา มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.97 คน มีอาชีพเกษตรกรรม (ท�านา ท�าสวน ท�าไร่) เป็น
อาชีพหลัก มีรายได้รวมของครัวเรือนต่อปีเฉลี่ย 142,610.74 บาท มีภูมิล�าเนาตั้งบ้านเรือนดั้งเดิมในหมู่บ้าน มีระยะ
เวลาการตั้งถิ่นฐานเฉลี่ย 39.71 ปี มีความคุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้น้อย มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลกร้อนและความรู้เกี่ยวกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่ในระดับมาก ประชาชนมีความคิดเห็นต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่า
อนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อนในพื้นที่ศึกษาอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อความ
คิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ อายุ อาชีพหลัก ระยะเวลาการ
ตั้งถิ่นฐาน การได้รับข้อมูลข่าวสาร การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม และประสบการณ์การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ค�าส�าคัญ: ความคิดเห็น ประชาชน โครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อ
ลดภาวะโลกร้อน จังหวัดจันทบุรี
ค�าน�า ล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. 2556 โดยกรมป่าไม้ ร่วมกับคณะ
ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยเป็นประเทศ วนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่าในปี
ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรป่าไม้ แต่ปัจจุบัน พ.ศ. 2556 มีเนื้อที่ป่าไม้เหลืออยู่ 102.12 ล้านไร่ หรือ
ทรัพยากรป่าไม้ได้ถูกบุกรุกท�าลายมาอย่างต่อเนื่อง 163,392.67 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 31.57
จนเสื่อมโทรม ส่งผลกระทบต่อการด�ารงชีวิตของ ของพื้นที่ประเทศเท่านั้น (กรมป่าไม้, 2560) ดังนั้น
ประชาชนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ตามมา เช่น การ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจึงได้หามาตรการเพื่อ
เกิดภัยแล้ง น�้าป่าไหลหลาก น�้าท่วมฉับพลัน เป็นต้น แก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรป่าไม้ดัง
สาเหตุหลักเกิดจากการเพิ่มขึ้นของประชากรใน กล่าวมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์
ประเทศท�าให้ที่อยู่อาศัยและที่ท�ากินไม่เพียงพอ ซึ่ง ป่า และพันธุ์พืช เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่ป่า
การบุกรุกท�าลายทรัพยากรป่าไม้ไม่เพียงแต่เกิดขึ้น อนุรักษ์ประเทศ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติ เขตรักษา
ในป่าเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ได้ลุกลามเข้าไปในพื้นที่ พันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ได้ตระหนักถึง
ป่าอนุรักษ์ และมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงเพิ่ม ปัญหาการบุกรุกท�าลายพื้นที่ป่าอนุรักษ์ดังกล่าว จึงได้
ขึ้น ซึ่งจากการส�ารวจพื้นที่ป่าไม้ของประเทศไทย ก�าหนดโครงการปลูกฟื้นฟูสภาพป่าที่เสื่อมโทรมมา