Page 47 -
P. 47

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
             วารสารการจัดการป่าไม้                                                                                                    ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหาร...
             ปีที่ 12 ฉบับที่ 23                                                       ณรงค์  เกษสา  และคณะ
                                                        45
             เรือนประชาชนตัวอย่างเท่ากับ 298 ครัวเรือน แต่  ร้อน ต�าบลจันทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัด
             เนื่องจากการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีหมู่บ้านเป้าหมาย  จันทบุรี โดยน�าค�าตอบค�าถามความคิดเห็นแต่ละ

             จ�านวน 3 หมู่บ้าน ดังนั้น การเก็บข้อมูลต้องเก็บ  ข้อและทุกข้อของประชาชนตัวอย่างทุกรายมาหา
             ข้อมูลกับครัวเรือนแต่ละหมู่บ้านตามสัดส่วน     ค่าเฉลี่ย แล้วจึงน�าค่าเฉลี่ยที่ได้ไปเปรียบเทียบกับ

             (proportional allocation) ต่อไป               อันตรภาคชั้นที่ก�าหนดไว้ จะสามารถท�าให้ทราบ
             การวัดระดับความคิดเห็น                        ระดับความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการ
                    การวัดระดับความคิดเห็นของประชาชนที่    บริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ศึกษาได้ต่อไป

             มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ ป่า  ทั้งนี้ ระดับความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
             อนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อน ต�าบลจัน  โครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ศึกษา

             ทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี สามารถ  แต่ละอันตรภาคชั้น สามารถแปลความหมายได้
             วัดโดยใช้ค�าถามส่วนที่ 3 ของแบบสอบถาม ซึ่ง    ดังต่อไปนี้
             เป็นค�าถามแบบประเมินค่า มีลักษณะเป็นมาตร             ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายถึง ประชาชนมี

             วัดตามแบบของ Likert’s Scale (พรเพ็ญ, 2531)    ความคิดเห็นที่เห็นด้วยต่อโครงการบริหารจัดการ
             โดยค�าถามแต่ละข้อมีค�าตอบให้เลือกตอบ 5 ตัว    ทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลด

             เลือก หรือ 5 ระดับ และก�าหนดค่าการให้คะแนน    ภาวะโลกร้อนอยู่ในระดับที่ไม่เห็นด้วย - เห็นด้วย
             ของค�าตอบแต่ละตัวเลือกไว้ ดังต่อไปนี้         น้อยที่สุด
                    ระดับความคิดเห็น     ระดับคะแนนที่ได้         ค่าเฉลี่ย 1.81 – 2.60 หมายถึง ประชาชนมี

                    เห็นด้วยมากที่สุด                         5 คะแนน  ความคิดเห็นที่เห็นด้วยต่อโครงการบริหารจัดการ
                    เห็นด้วยมาก                                4 คะแนน  ทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลด

                    เห็นด้วยปานกลาง                 3 คะแนน  ภาวะโลกร้อนอยู่ในระดับค่อนข้างน้อย
                    เห็นด้วยน้อย                           2 คะแนน  ค่าเฉลี่ย 2.61 – 3.40 หมายถึง ประชาชนมี
                    เห็นด้วยน้อยที่สุด-ไม่เห็นด้วย 1 คะแนน  ความคิดเห็นที่เห็นด้วยต่อโครงการบริหารจัดการ

                    จากเกณฑ์การให้คะแนนดังกล่าว น�ามา      ทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลด
             จัดแบ่งอันตรภาคชั้นออกเป็น 5 ชั้น เพื่อบ่งบอก  ภาวะโลกร้อนอยู่ในระดับปานกลาง

             ระดับความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการ            ค่าเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึง ประชาชนมี
             ที่ศึกษาในภาพรวม รายด้าน หรือระดับความคิด     ความคิดเห็นที่เห็นด้วยต่อโครงการบริหารจัดการ
             เห็นเป็นรายข้อ ทั้งนี้ การแบ่งอันตรภาคชั้นออก  ทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลด

             เป็น 5 ชั้น แต่ละอันตรภาคชั้นกว้าง 0.80       ภาวะโลกร้อนอยู่ในระดับมาก
                    เมื่อได้ค่าอันตรภาคชั้นแล้ว สามารถน�า         ค่าเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง ประชาชนมี

             มาก�าหนดความหมายระดับความคิดเห็นของ           ความคิดที่เห็นด้วยเห็นต่อโครงการบริหารจัดการ
             ประชาชนที่มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากร    ทรัพยากรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลด
             ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลก  ภาวะโลกร้อนอยู่ในระดับมากที่สุด
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52