Page 51 -
P. 51
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหาร...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ณรงค์ เกษสา และคณะ
49
< 0.001) แสดงว่า ประชาชนที่มีอายุต่างกัน มีความ ที่มีอาชีพหลักเกษตรกรรม กับประชาชนที่มีอาชีพหลัก
คิดเห็นต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากร ในพื้นที่ รับจ้างทั่วไป (2) ประชาชนที่มีอาชีพหลักเกษตรกรรม กับ
ศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ โดยกลุ่ม ประชาชนที่มีอาชีพหลักอื่นๆ และ (3) ประชาชนที่
ประชาชนที่มีอายุมาก มีความคิดเห็นที่เห็นด้วยต่อ มีอาชีพหลักรับจ้างทั่วไป กับประชาชนที่มีอาชีพ
โครงการฯ มากกว่ากลุ่มประชาชนที่มีอายุน้อย หลักอื่นๆ มีความคิดเห็นต่อโครงการบริหารจัดการ
2. ระดับการศึกษา ผู้ศึกษาได้แบ่งระดับ ทรัพยากรในพื้นที่ศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ
การศึกษาของประชาชนออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) ทางสถิติ
กลุ่มประชาชนที่ไม่ได้เรียนหนังสือ (2) กลุ่มประชาชนที่ 4. รายได้ของครัวเรือน ผู้ศึกษาได้แบ่งราย
มีการศึกษาระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษา /ปวช. และ ได้ของครัวเรือนของประชาชนออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้
(3) กลุ่มประชาชนที่มีการศึกษาระดับอนุปริญญา/ ค่าเฉลี่ยรายได้ของครัวเรือนประชาชน (142,610.74
ปวส. หรือสูงกว่า (Mean = 3.755, 3.885 และ 3.905 บาท) มาใช้เป็นเกณฑ์ในการแบ่งกลุ่ม ได้แก่ (1)
ตามล�าดับ) พบว่า ระดับการศึกษาเป็นปัจจัยที่ไม่มีผล กลุ่มประชาชนที่มีรายได้ของครัวเรือนน้อย (น้อยกว่า
ต่อความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหาร 142,610.74 บาท) และ (2) กลุ่มประชาชนที่มีรายได้ของ
จัดการทรัพยากรในพื้นที่ศึกษา (F = 1.056, p-value = ครัวเรือนมาก (มากกว่า 142,610.74 บาท) (Mean
0.349) แสดงว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มี = 3.843 และ 3.921 ตามล�าดับ) พบว่า รายได้ของ
ความคิดเห็นต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ ครัวเรือนเป็นปัจจัยที่ไม่มีผลต่อความคิดเห็นของ
ศึกษาไม่แตกต่างกัน ประชาชนที่มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากร
3. อาชีพหลัก ผู้ศึกษาได้แบ่งอาชีพหลักของ ในพื้นที่ศึกษา (t = -1.189, p-value = 0.236) แสดงว่า
ประชาชนออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มประชาชน ที่มี ประชาชนที่มีรายได้ของครัวเรือนต่างกัน มีความคิด
อาชีพหลักเกษตรกรรม (2) กลุ่มประชาชนที่มีอาชีพ เห็นต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่
หลักรับจ้างทั่วไป และ (3) กลุ่มประชาชนที่มีอาชีพ ศึกษาไม่แตกต่างกัน
หลักอื่นๆ (ค้าขาย รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ และ 5. ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน ผู้ศึกษาได้
ท�าธุรกิจส่วนตัว) (Mean = 4.068, 3.799 และ 3.476 ตาม แบ่งระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานของประชาชนออกเป็น
ล�าดับ) พบว่า อาชีพหลักเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็น 3 กลุ่ม โดยใช้ค่าช่วงระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน (27
ของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากร ปี) มาใช้เป็นเกณฑ์ในการแบ่งกลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่ม
ในพื้นที่ศึกษา (F = 30.811, p-value < 0.001) แสดง ประชาชนที่มีระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานไม่นาน (1 –
ว่า ประชาชนที่มีอาชีพหลักต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ 27 ปี) (2) กลุ่มประชาชนที่มีระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน
โครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ศึกษาแตก ปานกลาง (28 – 54 ปี) และ (2) กลุ่มประชาชนที่มีระยะ
ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ โดยกลุ่มประชาชน เวลาการตั้งถิ่นฐานนาน (55 – 82 ปี) (Mean = 3.839,
ที่มีอาชีพหลักเกษตรกรรมมีความคิดเห็นที่เห็นด้วยต่อ 3.815 และ 4.000 ตามล�าดับ) พบว่า ระยะเวลาการตั้ง
โครงการฯ มากกว่ากลุ่มประชาชนที่มีอาชีพหลักกลุ่ม ถิ่นฐานเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของประชาชน
อื่นๆ ซึ่งผลการวิเคราะห์รายคู่ พบว่า (1) ประชาชน ที่มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ศึกษา