Page 46 -
P. 46
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการบริหาร...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ณรงค์ เกษสา และคณะ
44
อุปกรณ์และวิธีการ แบบสอบถาม 30 ชุด ไปทดสอบ (pre-test) กับ
อุปกรณ์ ประชาชนบ้านเขาแก้ว หมู่ที่ 6 ต�าบลปะตง อ�าเภอ
1. แบบสอบถาม สอยดาว จังหวัดจันทบุรี เพื่อทดสอบค่าความเชื่อ
2. อุปกรณ์เครื่องเขียน มั่นค�าถามความรู้เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน และความ
3. เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรม รู้เกี่ยวกับอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ โดยใช้สูตร KR
คอมพิวเตอร์ส�าเร็จรูป – 20 ของล้วน และอังคณา (2524) และสูตรหาค่า
วิธีการ ความแปรปรวนของพวงรัตน์ (2540) ตามล�าดับ
การสร้างและการทดสอบแบบสอบถาม รวมถึงทดสอบหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของ
1. การสร้างแบบสอบถาม เพื่อใช้เป็น ค�าถามตัวแปรตาม โดยใช้วิธีการของ Cronbach’s
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลของการศึกษาวิจัยครั้ง alpha (พวงรัตน์, 2540) ค่าความเชื่อมั่นที่ได้จะ
นี้ โดยศึกษาและดัดแปลงแบบสอบถามของผู้ที่เคย ต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 0.80 ผลการทดสอบได้ค่า
ศึกษาวิจัยในเรื่องลักษณะเดียวกัน น�ามาปรับปรุง ความเชื่อมั่นของค�าถามความรู้เกี่ยวกับภาวะโลก
แก้ไขข้อค�าถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ร้อน ความรู้เกี่ยวกับอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และ
ครอบคลุมตัวแปรอิสระ ตัวแปรตามของการ ค่าความเชื่อมั่นของค�าถามตัวแปรตาม เท่ากับ
ศึกษาวิจัย แบบสอบถามประกอบไปด้วยค�าถาม 0.824, 0.836 และ 0.858 ตามล�าดับ
ปลายปิด (closed - ended questionnaire) และ การก�าหนดประชากรและขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ค�าถามปลายเปิด (open - ended questionnaire) 1. ประชากรศึกษา ได้แก่ ประชาชนที่
แบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ (1) ลักษณะ ตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยในท้องที่ต�าบลจันทเขลม
ทางเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนตัวอย่าง อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ซึ่งเป็นหมู่บ้าน
(2) ความรู้เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน และความรู้ ที่ตั้งอยู่ใกล้กับพื้นที่แปลงปลูกป่าตามโครงการ
เกี่ยวกับอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชน จ�านวน 3 หมู่บ้าน รวมจ�านวนทั้งสิ้น 1,164 ครัว
ตัวอย่าง และ (3) ความคิดเห็นของประชาชนที่ เรือน ประกอบด้วย (1) บ้านจันทเขลม หมู่ที่ 2
มีต่อโครงการบริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ป่า จ�านวน 582 ครัวเรือน (2) บ้านสะท้อน หมู่ที่ 3
อนุรักษ์อย่างยั่งยืนเพื่อลดภาวะโลกร้อน ต�าบลจัน จ�านวน 261 ครัวเรือน และ (3) บ้านจันตาแป๊ะ
ทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี หมู่ที่ 5 จ�านวน 321 ครัวเรือน (เทศบาลต�าบลจัน
2. การทดสอบแบบสอบถาม มีขั้นตอน ทเขลม, 2560)
ดังต่อไปนี้ 2. การหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง ใช้จ�านวน
2.1 การตรวจสอบความตรงเชิง ครัวเรือนประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยใน
เนื้อหา (content validity) โดยน�าแบบสอบถามที่ ท้องที่ต�าบลจันทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัด
จัดสร้างขึ้นไปเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อตรวจสอบ จันทบุรี จ�านวน 3 หมู่บ้านข้างต้นมาค�านวณหา
ความถูกต้องของค�าถามทุกข้อในแบบสอบถาม ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Yamane (1973)
2.2 การทดสอบแบบสอบถาม น�า ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ 0.05 ได้จ�านวนครัว