Page 96 -
P. 96

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                      5) ชองทางการตลาด


                      แมวาเปาหมายหลักของระบบวนเกษตรคือ การลดตนทุนในการผลิตและการปรับปรุงอาหารที่

               เพียงพอสําหรับครอบครัว แตเปาหมายอีกประการหนึ่งที่สําคัญคือ การเพิ่มรายไดและสรางความมั่นคงทาง
               เศรษฐกิจของครอบครัว ดังนั้น การพัฒนากลไกและชองทางตลาดที่จะสามารถขายผลผลิตวนเกษตรไดจึงมี

               ความสําคัญมากในกระบวนการผลิตวนเกษตร จากการศึกษา สามารถจําแนกชองทางการตลาดผลผลิตวน

               เกษตรในพื้นที่ตําบลแมทา อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม ออกเปน 5 ชองทางหลักตามประเภทของผล

               ผลผลิตวนเกษตร ไดแก ตลาดในหมูบาน ผานพอคาคนกลาง ตลาดนัดเกษตรอินทรียในเมืองเชียงใหม

               หางสรรพสินคาและ Modern trade  เชน Tops  และ เลมอนฟารม และการตลาดระบบสมาชิก (เฉพาะใน

               พื้นที่จังหวัดเชียงใหม)

                      ดังที่กลาวแลวขางตนวา ชองทางตลาดแตละประเภท/ระบบสามารถรองรับผลผลิตวนเกษตรที่

               แตกตางกันทั้งประเภทและปริมาณของผลผลิต อีกทั้ง วิธีการบริหารจัดการยังมีความแตกตางกันอีกดวย ยก

               ตัวยางเชน ไมใชสอยซึ่งสวนใหญเปนไมสักนอกจากจะเนนการใชประโยชนในครัวเรือนแลว เกษตรกรเจาของ

               แปลงสามารถจําหนายใหกับเพื่อนบานที่มีความตองการไมใชสอยโดยเปนการติดตอและเจรจากันเองภายใน

               ชุมชนระหวางเจาของและผูซื้อเปนรายกรณีๆ ไป


                      6) กลไกเชิงสถาบันสนับสนุนการจัดการระบบวนเกษตรครอบครัว

                      แมวาการทําวนเกษตรจะขึ้นอยูกับการตัดสินใจของเกษตรกรและครอบครัว แตความเปนไปไดในการ

               ผลักดันและขับเคลื่อนกระบวนการผลิตวนเกษตรใหสามารถตอบโจทยทั้งทางดานเศรษฐกิจครอบครัว ชุมชน/

               สังคม และดานสิ่งแวดลอมจําเปนตองไดรับการสนับสนุนอยางแข็งขันและตอเนื่องจากกลไกตางๆ ทั้งใน

               ระดับชาติและระดับทองถิ่น จากกรณีศึกษาชุมชนแมทา อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม พบวา นโยบายของ

               คณะกรรมการที่ดินแหงชาติในการอนุญาตใหเกษตรกรสามารถใชประโยชนที่ดินปาไมไดอยางถูกตองตาม

               กฎหมายถือเปนกลไกเชิงนโยบายที่สรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรเปนอยางมากในการที่จะลงทุนในที่ดินของ
               ตนเองในระยะยาวโดยพิจารณาในมิติการใชประโยชนอยางยั่งยืน และที่สําคัญไมนอยไปกวากลไกเชิงนโยบาย

               ระดับชาติ ก็คือ กลไกระดับทองถิ่นที่มีบทบาทสําคัญอยางมากในการขับเคลื่อน ค้ําจุน และสรางกําลังใจใหกับ

               เกษตรกรที่ตัดสินใจทําวนเกษตร พบวา กลไกเชิงสถาบันในระดับทองถิ่นที่สําคัญตอการขับเคลื่อนโซคุณคา

               การจัดการระบบวนเกษตรในพื้นที่ศึกษามี 4 องคกร ไดแก สถาบันการเรียนรูชุมชนตําบลแมทา ธนาคาร

               หมูบาน เครือขายและกลุมเกษตรกรอินทรียตําบลแมทา และสหกรณการเกษตรตําบลแมทา ซึ่งแตละองคกร
               ตางมีบทบาทและหนาที่ในการสนับสนุนและค้ําจุนกระบวนการผลิตวนเกษตรครอบครัวที่แตกตางกันแต

               ทํางานสอดประสานซึ่งกันและกัน ยกตัวอยางเชน ธนาคารหมูบานทําหนาที่ในการใหเงินกูยืมสําหรับเกษตรกร




                                                           96
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101