Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                      3) รูปแบบและการจัดองคประกอบระบบวนเกษตร


                      การกําหนดรูปแบบและองคประกอบพืชในระบบวนเกษตรขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของแตละครอบครัว

               รวมถึงปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน ความรูและความถนัดของเกษตรกร สภาพของพื้นที่และลักษณะดิน และ
               ปจจัยการผลิตตางๆ เชน กลาไม เมล็ดพันธุ เปนตน พบวา ระบบวนเกษตรหลักของครอบครัวที่พบในพื้นที่

               ศึกษาสามารถจําแนกออกไดเปน 4 ระบบหลัก ไดแก ระบบวนเกษตรแบบสวนผลไม เกษตรผสมผสาน ระบบ

               วนเกษตรที่ปลูกพืชเกษตรรวมไมใชสอย และการปลูกผักอินทรีย ซึ่งแตละระบบจะมีสัดสวนขององคประกอบ

               ระหวางไมยืนตนและพืชเกษตรที่แตกตางกัน อีกทั้ง การจัดเรียงองคประกอบไมยืนตนและพืชเกษตรในพื้นที่ก็

               จะแตกตางกัน


                      การกําหนดรูปแบบและจัดเรียงองคประกอบในระบบวนเกษตรของเกษตรกรจะมีความสัมพันธกับ
               ประสบการณและความรูของตัวเกษตรกรเองวาพืชแตละชนิดตองการพื้นที่แบบไหน พืชชนิดไหนชอบรม หรือ

               แสงแดดจัด และพืชบางชนิดอาจตองการพื้นที่ที่มีความชื้นสูง เชน เกษตรกรจะปลูกตนผักหวานบริเวณใกลตน

               นอยหนาเพื่อใหมีไมพี่เลี้ยงสําหรับกลาผักหวาน เปนตน นอกจากนี้ ยังพบวาเกษตรกรมักจะมีการใชประโยชน

               พื้นที่ดวยเทคนิคการอนุรักษดินและน้ํา เชน การปลูกพืชแบบหมุนเวียนสลับกันในแตละชวงเวลา ไมมีการไถ

               หรือเปดหนาดิน เปนตน และที่สําคัญมากก็คือ เกษตรกรไมมีการใชปุยเคมีและยากําจัดศัตรูใดๆ ทั้งสิ้น มีการ
               บํารุงดินโดยการใชปุยหมักและมูลสัตว (ขี้ไก ขี้วัว)


                      การคัดเลือกพืชมาเปนองคประกอบในระบบวนเกษตรนั้นเกษตรกรยังคํานึงถึงรายไดของครัวเรือนอีก

               ดวย กลาวคือ จะมีการคัดเลือกพืชที่ใหผลผลิตในชวงเวลาที่แตกตางกันทั้งในระยะสั้น (รายวัน) ระยะกลาง

               (รายเดือน) และระยะยาว (รายป) ซึ่งการจัดองคประกอบดังกลาวชวยทําใหครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดอยาง

               ตอเนื่องตลอดทั้งป


                      4) ผลผลิตและการจัดการ

                       ระบบวนเกษตรใหผลผลิตที่หลากหลายทั้งเนื้อไมและพืชผลเกษตรซึ่งความหลากหลายของผลิตนี้

               นอกจากจะชวยทําใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีผลผลิตที่ยั่งยืน และมีรายไดมั่นคงแลว การทําวนเกษตรยังสามารถ

               ชวยฟนฟูความหลากหลายทางชีวภาพและฟนฟูความอุดมสมบูรณของทรัพยากรดินอีกดวย สามารถจําแนก

               ประเภทของผลผลิตจากระบบวนเกษตรในพื้นที่ศึกษา ออกเปน 5 ประเภทหลัก ไดแก ไมใชสอย พืชผลเกษตร

               ผลไม ผักอินทรียและผักพื้นบาน และนิเวศบริการ (ความหลากหลายชีวภาพ น้ํา อากาศ)


                          x  ไมใชสอย พบวา ในระบบวนเกษตรของเกษตรกรตําบลแมทาประกอบไปดวยไมใชสอยหลาย

                              ชนิดโดยชนิดไมใชสอยที่สําคัญ ไดแก ไมไผ และไมสัก โดยเกษตรกรที่ทําวนเกษตรสามารถ




                                                           94
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99