Page 97 -
P. 97

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ที่ตองการจะลงทุนทําวนเกษตรในอัตราดอกเบี้ยที่ไมสูงมากนัก ในขณะที่สถาบันการเรียนรูฯ ทําหนาที่ในการ

               เปน Platform  ของชุมชนในการสรุปบทเรียนการทํางานรวมกันระหวางสมาชิก ซึ่งการทํางานที่สอด

               ประสานกันของกลไกเชิงสถาบันระดับทองถิ่นและองคกรชุมชนเหลานี้นําไปสูการสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลผลิต

               วนเกษตร สามารถนําเสนอโมเดลของโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรดังภาพที่ 3

                      สามารถกลาวไดวา องคประกอบกิจกรรมโซคุณคาการจัดการและชองทางการตลาดของระบบวน

               เกษตรในพื้นที่ตําบลแมทามีความซับซอนและพลวัตสูง สวนหนึ่งนาจะสืบเนื่องจากระบบวนเกษตรในพื้นที่

               โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนเปนระบบที่มีพลวัตและใหผลผลิตที่หลากหลายซึ่งผลผลิตแตละชนิด

               เกี่ยวของกับเครือขายที่แตกตางกันตั้งแตเกษตรกรผูผลิต พอคาคนกลาง ผูแปรรูป รานคา หางสรรพสินคา

               และผูบริโภค ทั้งนี้ ชองทางการตลาดของผลผลิตแตละชนิดมีความสั้นยาวที่แตกตางกันขึ้นอยูกับลักษณะการ
               นําผลผลิตจากระบบวนเกษตรไปสูผูบริโภคซึ่งเกษตรกรเจาของแปลงวนเกษตรจะเปนผูตัดสินใจในการเลือก

               ชองทางการตลาด จากการศึกษา พบวา เครือขายเกษตรอินทรียตําบลแมทาเปนกลไกของชุมชนที่ชวยสราง

               มูลคาเพิ่มใหกับผลผลิตผักอินทรียในระบบวนเกษตร นับตั้งแตป พ.ศ. 2530 เกษตรกรผูปลูกผักอินทรียใน

               ตําบลแมทามีการรวมกลุมกันในนามของเครือขายเกษตรอินทรีย และเมื่อประมาณ 2-3 ปที่ผานมา เครือขาย

               เริ่มมีการนําผักอินทรียไปจําหนวยที่ตลาดนัดในจังหวัดเชียงใหม และนําไปสงยังหางสรรพสินคาท็อปสใน

               จังหวัดเชียงใหม ทั้งนี้ การรวมกลุมของเกษตรกรชวยเพิ่มมูลคาใหกับระบบการผลิตผักอินทรียอยางนอย 3
               ประการ ไดแก ประการแรก การรวมกลุมชวยลดตนทุนในการขนสงผักอินทรียไปจําหนายและสงที่ตลาดในตัว

               เมืองจังหวัดเชียงใหมซึ่งหางจากตําบลแมทาเปนระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร สมาชิกของกลุมจะ

               รับผิดชอบคาน้ํามันรถและคาเชารถตามสัดสวนของปริมาณผักที่ตนเองนําไปจําหนายมากนอยแตกตางกันไป

               ซึ่งวิธีการรวมกลุมเปนเครือขายดังกลาวชวยใหสมาชิกซึ่งเปนเกษตรกรรายยอยสามารถจัดการกับตนทุนคา

               ขนสงสินคาจากแปลงวนเกษตรไปยังตลาดในเมืองได ประการที่สอง การรวมกลุมในรูปเครือขายเกษตรกร
               อินทรียของเกษตรกรเปนกลไกหนึ่งในการตรวจสอบและรับรองคุณภาพและมาตรฐานผักอินทรียซึ่งชวยสราง

               ความมั่นใจใหกับหางสรรพสินคาและผูบริโภคในเมืองเชียงใหมได ทั้งนี้ ในปจจุบันเกษตรกรที่ปลูกผักอินทรีย

               ในตําบลแมทายังไมไดเขารับการตรวจประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานผักอินทรียจากหนวยงานของภาครัฐอยาง

               เปนทางการ เพราะการรับรองดังกลาวมีคาใชจายคอนขางสูง แตดวยชื่อเสียงของชุมชนในการทําเกษตร

               อินทรียและการสนับสนุนจากองคกรพัฒนาเอกชนทําใหผลผลิตผักอินทรียของตําบลแมทาไดรับการยอมรับ

               จากผูบริโภคในเมืองแมจะยังไมไดรับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียอยางเปนทางการ ในระหวางการเก็บ

               ขอมูล ผูวิจัยไดมีโอกาสไปสังเกตการที่ตลาดผักอินทรีย (เจเจมารเก็ต) ในเมืองเชียงใหมซึ่งเปนตลาดที่
               เกษตรกรในตําบลแมทานําผักอินทรียมาจําหนาย โดยผูวิจัยมีโอกาสไดสัมภาษณผูบริโภคซึ่งเปนผูที่มาซื้อผัก

               เปนประจํากับเกษตรกรตําบลแมทามายาวนานกวา 5 ป โดยลูกคารายดังกลาวเคยเดินทางไปเยี่ยมเกษตรกร




                                                           97
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102