Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                         บทที่ 5


                                                  สรุปและขอเสนอแนะ




               5.1 สรุปผลการศึกษา


                      โครงการวิจัยเรื่องการวิเคราะหโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรเพื่อฟนฟูความหลากหลายทาง

               ชีวภาพและเพิ่มความมั่นคงทางอาหารของชุมชน กรณีศึกษาโครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน จังหวัด

               เชียงใหม มีวัตถุประสงคของการศึกษา 3 ขอ ไดแก ขอที่หนึ่ง เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจสังคมของ
               เกษตรกร ประเมินสถานภาพของระบบวนเกษตรในพื้นที่ศึกษา รวมถึงการประเมินโอกาสและขอจํากัดของ

               เกษตรกรในการปรับใชระบบวนเกษตร ขอที่สอง เพื่อสํารวจความหลายของชนิดพืชในแปลงวนเกษตรของ

               เกษตรกร และวิเคราะหดัชนีความสําคัญความหลากหลายของพืชในระบบวนเกษตรในพื้นที่ศึกษา และขอที่

               สาม เพื่อวิเคราะหโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรเพื่อเพิ่มพูนความหลากหลายทางชีวภาพในระดับ

               ทองถิ่น ใชวิธีการศึกษาดวยการผสมผสานเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณรวมกับเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ

               ประกอบดวย การสัมภาษณรายครัวเรือนดวยแบบสัมภาษณ การสัมภาษณเชิงลึก และการจัดประชุมกลุมยอย
               เกษตรกร รวมถึงการสํารวจความหลากชนิดของพืชในแปลงวนเกษตร


                      สถานภาพการปรับใชระบบวนเกษตรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากิน พบวา มีเกษตรกรจํานวน 59

               ครัวเรือน ที่ทําการผลิตและใชประโยชนประโยชนที่ดินในรูปแบบวนเกษตรโดยเริ่มทํามาตั้งแตประมาณป พ.ศ.

               2526 เหตุผลที่เกษตรกรตัดสินใจทําวนเกษตรมีหลากหลาย โดยเหตุผลสวนใหญ รอยละ 33.9 คือ การชักชวน

               ของเพื่อนบาน เกษตรกรที่ทําวนเกษตรสวนใหญมีการถือครองที่ดินนอยกวา 5 ไร คิดเปน รอยละ 74.6
               ทางดานการจัดการผลผลิตวนเกษตร พบวา เกษตรกรสวนใหญ รอยละ 88.1 มีการขายผลผลิตจากระบวน

               เกษตร ซึ่งแหลงตลาดสวนใหญของผลผลิตวนเกษตรกร คือ ตลาดภายในชุมชน (รอยละ 52.5) และสวนใหญ

               รอยละ 61 ของเกษตรกรที่ทําวนเกษตรเปนสมาชิกของกลุมเกษตรอินทรียตําบลแมทา


                      ระบบวนเกษตรมีความหลากหลายของชนิดพืชทั้งไมยืนตน ไมพุม และพืชเกษตร จากการสํารวจใน

               ระดับแปลงพบไมยืนตนทั้งหมด 245 ชนิด แบงออกเปน 6 ประเภท ไดแก ไมปา 98 ชนิด ไมผล 27 ชนิด ไผ 7

               ชนิด ปาลมและหวาย 7 และไมพุม 6 ชนิด มีคาดัชนีความหลากหลายของชนิดไมยืนตน เทากับ 2.99 และพบ
               พืชเกษตรทั้งหมด 100 ชนิด


                      การวิเคราะหโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตร พบวา กระบวนการผลิตวนเกษตรประกอบดวย

               องคประกอบทั้งหมด 6 องคประกอบหลัก ไดแก 1) เกษตรกรและเจาของที่ดิน 2) ที่ดินและระบบกรรมสิทธิ์

               3) รูปแบบการจัดองคประกอบวนเกษตร ประกอบไปดวย 4 รูปแบบหลัก ไดแก วนเกษตรกรแบบสวนผลไม

                                                           100
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105