Page 91 -
P. 91
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4.3 โซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตร
ระบบวนเกษตรเปนรูปแบบการใชประโยชนที่ดินที่ผสมผสานระหวางไมยืนตนหรือพืชอายุยืนยาว
รวมกับพืชเกษตรหรือปศุสัตวในหนวยพื้นที่เดียวกัน โดยการผสานองคประกอบนั้นจะอยูในชวงเวลาเดียวกัน
หรือตางชวงเวลากันก็ไดแตตองมีไมยืนตนหรือพืชอายุยืนยาวเปนองคประกอบหลัก เมื่อวิเคราะหองคประกอบ
ของโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนตําบลแมทา
อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม พบวา ระบบการจัดการวนเกษตรประกอบดวยองคประกอบที่เกิดจาก
กระบวนการผลิตทั้งหมด 6 องคประกอบ ไดแก 1) เกษตรกรเจาของที่ดินและกลุมเกษตรอินทรีย 2) ที่ดินและ
ระบบกรรมสิทธิ์ 3) รูปแบบและการจัดเรียงองคประกอบ 4) ผลผลิตและการใชประโยชน 5) ชองทาง
การตลาด และ 6) กลไกเชิงสถาบันซึ่งเปนปจจัยเกื้อหนุนตอกระบวนการผลิต
1) เกษตรกรเจาของที่ดินและกลุมเกษตรอินทรีย
เกษตรกรถือเปนองคประกอบสําคัญในกระบวนการผลิตและใชประโยชนที่ดินในรูปแบบวนเกษตร
เนื่องจากเกษตรกรเปนผูตัดสินใจและกําหนดรูปแบบการเพาะปลูกบนที่ดินของตนเองไปจนถึงการสํารวจ
ตลาดเพื่อนําผลผลิตวนเกษตรไปจําหนาย ตั้งแตเริ่มตั้งถิ่นฐาน เกษตรกรในตําบลแมทามีวิถีชีวิตที่พึ่งพิง
ทรัพยากรปาไมมาโดยตลอด พื้นที่ปารอบๆ หมูบานเปรียบเสมือนแหลงอาหารและน้ํา ในผืนปาเคยมีทุกสิ่ง
เพียงพอสําหรับความจําเปนตอการดํารงชีพ และมีการเก็บหาของปาเพื่อจําหนายในบางชวงฤดูกาล ชุมชนมัก
มีการทํานาบริเวณที่ราบลุมใกลลําหวยซึ่งผลผลิตสวนใหญเนนเพื่อการบริโภคในครัวเรือน และมีการปลูกพืช
เชิงเดี่ยว เชน ขาวโพด ยาสูบ ถั่ว กระเทียม สําหรับการขายสรางรายไดใหกับครอบครัว ทวาปญหาการลดลง
และเสื่อมโทรมของทรัพยากรปาไมรวมถึงปญหาราคาตกต่ําและไมแนนอนของพืชผลทางการเกษตรทําให
เกษตรกรในตําบลแมทาประสบปญหาหนี้สินของครัวเรือน และบางรายมีปญหาเรื่องสุขภาพสืบเนื่องจากการ
ใชสารเคมีและยากําจัดศัตรูพืชอยางหนักสําหรับการเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว จากปญหาดังกลาว ทําใหเกษตรกร
บางสวนคิดหาทางออกจากปญหาที่ตนและเพื่อนบานกําลังเผชิญ โดยในชวงประมาณป พ.ศ. 2528 มีองคกร
พัฒนาเอกชนเขาไปหนุนเสริมกระบวนการภายในชุมชนโดยการจัดตั้งกลุมองคกรชุมชนขึ้นเพื่อเปนกลไกลของ
ทองถิ่นในการแกไขปญหาความยากจนของครัวเรือน ซึ่งจากจุดเริ่มตนในชวงเวลานั้นมีการเสนอใหมีการ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตที่ลดการพึ่งพิงปจจัยภายนอกมาสูการผลิตทางเลือกแบบพึ่งพาตนเองเปนหลักซึ่ง
เปนจุดกําเนิดของเกษตรอินทรียในตําบลแมทา
เกษตรกรที่ทําวนเกษตรในชุมชนตําบลแมทา มีการพัฒนาและสะสมองคความรูเกี่ยวของกับ
ความสัมพันธของพืชและไมยืนตนจากการสังเกต การลองผิดลองถูกของตนเอง รวมถึงการเรียนรูจากเพื่อน
บานและจากเครือขายเกษตรกรรมยั่งยืน ชุดความรูดังกลาวของเกษตรกรมีคุณคาอยางยิ่งตอการริเริ่มและ
91