Page 21 -
P. 21
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4
ประเทศไทย สามารถน ามาประกอบเป็นอาหารได้มากมายหลายชนิด รวมถึงเป็นแหล่งโปรตีนที่
ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย และน ามาซึ่งรายได้แก่คนในชุมชนบริเวณพื้นที่ดังกล่าว ด้วยเหตุนี้การประมง
น้ าจืดตามแหล่งน้ าธรรมชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จึงเป็นแหล่ง
ก าหนดส าคัญในการกระจายปลาน้ าจืดธรรมชาติ ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย
จากการรายงานสถิติการจับปลาน้ าจืดประเทศไทยของกรมประมง (2558) ในภาพรวมและ
เฉพาะปลาน้ าจืด ทั้งนี้ในส่วนของปลาน้ าจืดที่ชาวประมงจับได้นั้น พบว่า ปริมาณการจับปลาที่ได้นั้น
ไม่มีความแน่นอน มีมากน้อยสลับกัน โดยเฉพาะอย่างในภาวะปีที่ฝนแล้ง ปริมาณการจับปลาที่ได้จะมี
ปริมาณน้อย อีกทั้งในปีที่ประเทศไทยประสบกับปัญหาสภาวะอากาศร้อนผิดปกติ หรือร้อนจนเกินไป
น าไปสู่การตายของปลาธรรมชาติจ านวนมาก และอาจน าไปสู่ปัญหาการขาดแคลนปลาบางชนิดใน
การบริโภคในหลาย ๆ พื้นที่ (ตารางที่ 1.1)
ตารางที่ 1.1 แสดงปริมาณการจับสัตว์น้ าจืดของประเทศไทย
หน่วย: ปริมาณ (1,000 ตัน)
ปี รวมเฉพาะปลา รวมสัตว์น ้าทั งหมด
2552 205.4 206.8
2553 207.4 209.3
2554 222.7 224.7
2555 217.4 219.4
2556 207.9 210.3
ที่มา: กรมประมง (2558)
การประมงน้ าจืดนั้น อาจคิดเป็นมูลค่าผลิตภัณฑ์ต่อมวลรวมภายในประเทศไม่มากนัก
เมื่อเทียบกับการประมงน้ าเค็ม อย่างไรก็ตามการประมงน้ าจืด กลับมีความผูกผันกับวิถีชีวิตของคนใน
ชุมชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้กับคนในชุมชน โดยเฉพาะในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็น
แหล่งต้นน้ าของแม่น้ าชี แม่น้ าพอง แม่น้ าสงคราม ห้วยหลวง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ในกลุ่มจังหวัดที่
ประชากรมากกว่า 12 ล้านคน จึงนับว่าได้ว่า การประมงน้ าจืดเป็นองค์ประกอบส าคัญส่วนหนึ่งในการ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในส่วนของภาคตะวันออกเฉียงตอนบนนั้น เป็นแหล่งผลิตปลาธรรมชาติโดยตรงจากแม่น้ า
โขง (มัลลิกา และคณะ, 2558) อย่างไรก็ตามด้วยลักษณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีห้วย อ่างเก็บน้ า
และเขื่อนจ านวนมาก ท าให้แหล่งที่เป็นอ่างเก็บกักน้ าธรรมชาตินั้นมีปลามากมายหลายชนิด โดยส่วน
หนึ่งมีการจัดจ าหน่ายปลาน้ าจืดสดโดยตรง อีกส่วนหนึ่งก็น ามาจัดท าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา
จ านวนมาก ตามพื้นที่บริเวณใกล้แหล่งน้ าส าคัญ เช่น เขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนล าปาว ปากแม่น้ าสงคราม
เป็นต้น ซึ่งจากสภาพทั่วไปในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนนั้น จะมีการจ าหน่ายปลาสดเป็น
หลัก นอกจากนี้ยังมีการวางผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาธรรมชาติ ระหว่างสองข้างทางตามแหล่งน้ า
และแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ จึงกลายเป็นลักษณะการจัดจ าหน่ายตามสภาพ ในรูปแบบตามก าลังการ
ผลิตแต่ละครอบครัว