Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                    ÊÐÃÐá˹‹                                                                                                                          㺪оÅÙ


                  สะระแหน  เปนผักสวนครัวที่ชาวบานมักปลูกในกะละมัง                                                                                                                    ใบชะพลู เปนพืชใบเขียวเขมที่มีธาตุเหล็ก  มีกลิ่นหอมนํามา
                เกา ๆ หรือยางรถที่หมดสภาพ วางทิ้งแบบไมใสใจนัก ผักสะระแหน                                                                                                          ทําเปนอาหารไดหลากหลายชนิด คนอีสานเรียกงาย ๆ วา “ผัก
                มีชื่อเรียกที่ไมซํ้ากันในแตละภูมิภาค  อยางคนเหนือเรียกวา                                                                                                          อีเลิด” กินเปนผักแกลม คนเหนือเรียกวา “ผักแค” นี่ละมังจึง
                “หอมดวน” คนใตเรียก “แซเเหน” คนอีสานเรียกวา “สะเเงะ”                                                                                                               เปนที่มาของชื่อแกงแค  ซึ่งเปนแกงของคนเหนือที่ตองมีใบ
                เปนผักที่มีสีสันรูปลักษณสวยงามนิยมนํามาโรยหนาอาหาร                                                                                                                 ชะพลูเปนสวนผสม  คนใตนิยมทําแกงเนื้อใบชะพลู  แกงหอย
                ชวยแตงกลิ่นอาหารประเภทยํา ลาบ พลา หรือรับประทานเปน                                                                                                                แครงใบชะพลู  หอมกลิ่นใบชะพลู  สําหรับอาหารวางที่คนสวน
                ผักสดแกลมอาหารโดยเฉพาะอาหารอีสาน อาหารเวียดนาม                                                                                                                       ใหญนิยมกันก็  คือ  เมี่ยงคํา  ใชใบชะพลูรองรับสวนผสมหลาย
                                                                                                                                                                                      ชนิดที่หั่นเปนชิ้นเล็ก  ชิ้นนอย  อยางเชน  กุงแหง  มะพราวคั่ว
                                                                ãºÂ‹Ò¹Ò§                                                                                                              หอมแดง ขิงหั่น มะนาวชิ้นสี่เหลี่ยม ถั่วลิสงคั่ว พริกขี้หนูเปนตน
                                                                                                                                                                                      ราดนํ้าปรุงหวาน ๆ เค็ม ๆ หอดวยใบชะพลู เปนอาหารวางที่ให
                                                                  ใบยานาง เปนไมเถาเลื้อย เดิมมักขึ้นตามปา ปจจุบันนิยมนํา                                                         คุณคาทางอาหารมีสารอาหารโปรตีน  คารโบไฮเดรต  ไขมัน
                                                                มาปลูกในบานกันมาก เนื่องจากมีขอมูลที่พบวาเปนสมุนไพรที่มี                                                          วิตามิน เกลือแร สารตานอนุมูลอิสระ ครบในหนึ่งคํา
                                                                สรรพคุณทางยา  จึงมีการผลิตนํ้าใบยานางบรรจุขวดหรือถุง
                                                                พลาสติก  เปนเครื่องดื่มจําหนายกันมาก  ชาวบานอีสานเขาปา                                                  ¡Ðà¾ÃÒ
                                                                หาหนอไมมาประกอบอาหาร  สิ่งที่ตองเก็บติดมือมาดวยก็  คือ               กะเพรา เปนพืชสวนครัวที่เกิดงาย ยิ่งเด็ดยอดยิ่งงาม จึงเปน
                                                                ใบยานาง  นํามาใสในแกงหนอไม เชื่อวาจะชวยลดความขื่นของ             พืชที่แบงปนกันรับประทานมากกวาที่จะตองหาซื้อ  นํากะเพรา
                                                                หนอไม เริ่มจากเด็ดใบยานาง ทําความสะอาด ขยี้ใบในนํ้าจนได            มาปรุงอาหารไดหลายชนิด ไมวาจะเปนผัด แกง ไดทั้งนั้น ขาว
                                                                สีเขียวออกมา  บางคนใชครกโขลกใบยานางรวมกับขาวเบือให                 ผัดกะเพรา  ถือเปนอาหารจานดวนที่หารับประทานไดงาย
                                                                ละเอียด  ละลายนํ้าแลวจึงกรอง  นําสวนที่เปนนํ้าเขียว ๆ  ไป           รสชาติกลิ่นหอมของกะเพรายังเปนสิ่งที่คนไทยคุนเคย  คุณคา
                                                                ประกอบอาหาร  อยางเชน  แกงหนอไม  ซุบหนอไม  แกงเห็ด                ของกะเพรานอกจากใสในอาหารแลว  การนํามาตมในนํ้าเดือด
                                                                เปนตน  สวนคนเหนือใชใบยานางออนใสในแกงหนอไมโดยไม               15 นาที สารตานสารอนุมูลอิสระจะออกมาอยูในนํ้าตมผัก นํา
                                                                ตองคั้นนํ้า  นํ้าแกงจึงไมมีสีเขียวคลํ้าอยางแกงหนอไมของคน          นํ้าตมผักมาบริโภค ก็จะไดคุณคาทางสุขภาพ มีการนํานํ้าตมผัก
                                                                อีสาน (คําวา "ซุบ"  หมายถึง  อาหารประเภทยําของชาวอีสาน                มาหุงขาว  แปรรูปเปนผลิตภัณฑขาวผักแทงชนิดตาง ๆ  พัฒนา
                                                                สวน "ซุป" เปนอาหารซุปแบบตะวันตก)                                     เปนตนแบบของอาหารแชเยือกแข็ง
                                                       ¢Ðá§


                  ขะแยง เปนพืชพื้นบานตนเล็กๆ พบตามทุงนา ในชวงฤดูฝน
                ตนและใบจะอวบนํ้า แตในฤดูแลงจะดูแกร็น ๆ ใบเล็ก ๆ ปจจุบัน
                เกษตรกรในภาคอีสานปลูกขะแยงจําหนายเปนการคา  สราง
                รายไดอยางงาม คนไทยภาคอื่น ๆ อาจจะไมรูจักผักขะแยง แต
                สําหรับ  คนอีสานแลวชื่นชอบในกลิ่นหอมฉุนของผักขะแยง  ถึง
                กับปรากฏชื่อผักขะแยงในเนื้อเพลงที่บอกเลาถึงอาหารอีสาน
                ผักขะแยงชวยดับคาวในอาหารประเภทออมกบ ออมเขียด หรือ
                หมกปลา แคไดกลิ่นไกล ๆ ก็นํ้าลายไหลแลว อยางไรก็ตามใชวา
                คนที่ไดกลิ่นแลวจะชอบผักขะแยงซะหมด บางคนไมชอบกลิ่นที่
                ฉุนจัด ไมคุนเคย
                                                             34                                                                                                                     35


                                                      อาหารไทย ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                             พืชผักสมุนไพรสรางสุขภาพ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41