Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                        â¿¡Ñʾת¼Ñ¡ÊÁعä¾Ã 11 ª¹Ô´ áÊ´§Ä·¸ÔìμŒÒ¹Í¹ØÁÙÅÍÔÊÃÐà¡Ô¹ 100
                                                                                                                                                                                      ÅÙ¡ÁСÃÙ´


                  จากพืชชนิดตางๆที่ไดศึกษามาขางตน จะพบวามีพืชผักจํานวน 11 ชนิด จาก 54 ชนิด ที่มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระมากกวา 100                                                    มะกรูด  กลิ่นหอมของมะกรูดเกิดจากนํ้ามันหอมระเหยซึ่งที่
                ไมโครโมลสมมูลของโทรลอกซ ตอกรัม นํ้าหนักสด ซึ่งเมื่อเรียงตามลําดับฤทธิ์แรงสุด ไดแก ขมิ้นชัน ยี่หรา พริกไทยออน ใบมะกรูด                                           ผิวมะกรูดจะมีมากที่สุด คือปริมาณรอยละ 4 โดยมีสารเบตา
                เชียงดา สะระแหน ผิวมะกรูด ใบยานาง ขะแยง ใบชะพลู และกะเพรา สวนใหญยกเวนผักเชียงดา เปนพืชสมุนไพรที่ใสในอาหารไทย                                                   ไพนีน (ß-pinene)  เปนสารระเหยหลัก  ผิวมะกรูดนํามาเปน
                ชวยแตงสี ใหกลิ่นหอม และรสชาติใหแกอาหารไทยอยางมีเอกลักษณ                                                                                                        สวนประกอบของอาหาร ใชมีดคม ๆ ลอกสวนเปลือกที่มีสีเขียว
                                                      ¢ÁÔ鹪ѹ                                                                                                                        โขลกรวมกับสวนผสมอื่น ๆ ของนํ้าพริกแกงหลายชนิด เชน นํ้า
                                                                                                                                                                                      พริกแกงเผ็ด  นํ้าพริกแกงเขียวหวาน  นํ้าพริกแกงคั่ว  นํ้าพริก
                  ชมิ้นชัน พืชสมุนไพรที่ใสในอาหาร มีสารที่เปนองคประกอบ                                                                                                             พะแนง นํ้าพริกแกงมัสมั่น เปนตน ผิวมะกรูดทําใหอาหารมีกลิ่น
                หลัก คือ เคอรคูมิน (Curcumin) มีสีเหลืองสม และมีนํ้ามันหอม                                                                                                          หอม มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระสูง แตใสในอาหารไมไดมาก เพราะ
                ระเหย  จึงถูกใชเปนเครื่องเทศในเครื่องแกง ใชแตงสี แตงกลิ่น                                                                                                        จะทําใหมีรสขม
                ชวยลดกลิ่นคาว  อาหารที่ใสขมิ้นจะมีคุณคาในการตานอนุมูล                                                                                                  ãºÁСÃÙ´
                อิสระ  นักวิจัยยังพบวาขมิ้นมีคุณสมบัติยับยั้งการกอกลายพันธุ
                ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งไดดวย  ดังนั้นผูบริโภคที่ชื่น                                                           ใบมะกรูด มีนํ้ามันหอมระเหยปริมาณรอยละ 0.08 - 1.00
                ชอบการบริโภคอาหารใต เชน คั่วกลิ้ง แกงเหลือง ขนมจีนนํ้ายา                                                             โดยมีสารซิโทรเนลาล (Citronellal)  เปนหลัก  ซึ่งใบมะกรูดสี
                ปลาปกษใต  แกงไตปลา  และอื่น ๆ  จึงมีโอกาสที่จะไดคุณคา                                                             เขียวเขมจะใหกลิ่นหอมกวาใบสีเขียวออน  ใบมะกรูดเมื่อถูก
                เสริมสรางสุขภาพดังกลาว                                                                                               ความรอนนาน ๆ กลิ่นจะเปลี่ยนไป จากงานวิจัยพบวาการใสใบ
                                                                                                                                       มะกรูดลงไปในขั้นตอนการปรุงอาหารนั้น  ลําดับของการใสใบ
                                                               ¾ÃÔ¡ä·Â͋͹                                                             มะกรูดควรจะเปนขั้นตอนทาย ๆ  ไมควรใสในอาหารที่กําลัง


                                                                 พริกไทยออน  ใสในแกงปา  ผัดเผ็ด  ผัดฉา  ใหกลิ่นหอม                ตมเดือดนานเกิน 2  นาที  หากนานกวานี้กลิ่นของใบมะกรูดจะ
                                                               รสชาติเผ็ดรอน คนสวนใหญจึงมักจะไมเคี้ยวแบบเต็ม ๆ เลี่ยง ๆ            เปลี่ยนไป  หากเปนอาหารที่ตองใส  ขา  หรือตะไคร  ควรใสขา
                                                               ใหโดนแบบเม็ดสองเม็ด พริกไทยออนเผ็ดก็จริงแตมีคุณคาสราง              ตามดวยตะไคร ลงไปกอนตมประมาณ 3 - 5 นาที (ไมควรเกิน
                                                               เสริมสุขภาพ  ตัวอยาง  เชน  แกงปา  นักวิจัยยกใหเปนอาหาร             10  นาที)  จะไดนํ้าแกงที่มีกลิ่นหอมสมุนไพร  และมีฤทธิ์ตาน
                                                               สุขภาพสําหรับผูที่ตองการควบคุมนํ้าหนัก  เพราะอุดมไปดวย               อนุมูลอิสระสูง
                                                               เสนใยอาหารจากผักหลายชนิดที่เปนสวนผสมไมวาจะเปน
                                                               มะเขือพวง มะเขือเปราะ กระชาย ใบกะเพรา พริกแดง เปนตน
                                                               ซึ่งเหลานี้ลวนมีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระดีตอสุขภาพ                                                                      àªÕ§´Ò
                                                                                                                                                                                        เชียงดา ผักพื้นบานที่พบมากทางภาคเหนือ ลักษณะเปนไม
                                                                                                                                                                                      เลื้อยชูยอดออนตามรั้ว มีรสชาติขมนิด ๆ นักวิจัยตางชาติพบวา

                                                  àÁÅç´ÂÕèËÃ‹Ò                                                                                                                        มีสารสําคัญ คือ กรดจิมนีมิค (Gymnemic acid) ชวยควบคุม
                                                                                                                                                                                      ระดับนํ้าตาลในเลือด  ผูปวยที่เปนโรคเบาหวานบางคนจึงนํามา

                  เมล็ดยี่หรา เปนเครื่องเทศที่ใชประกอบอาหารชวยเพิ่มกลิ่น                                                                                                          ตมเปนนํ้าดื่ม  สวนคนเหนือคุนเคยในการนํามาทําอาหาร  นิยม
                หอม  และยังชวยดับกลิ่นคาวไดดี  โดยคั่วเมล็ดโขลกผสมกับ                                                                                                               นํามาแกงเชียงดาใสปลายาง  เปนหนึ่งในผักหลายชนิดที่ใสใน
                เครื่องนํ้าพริกแกงของอาหารไทยหลายชนิด  เชน  แกงเขียว                                                                                                                 แกงแค  หรือนํามาผัดนํ้ามันใสไขแบบแหง ๆ  หอมกลิ่นไข  เนื้อ
                หวาน แกงเผ็ด แกงมัสมั่น แกงกะหรี่ พะแนง เปนตน                                                                                                                       สัมผัสเคี้ยวนุม ๆ ของผักเชียงดา ถือเปนเมนูหามพลาดของราน
                                                                                                                                                                                      อาหารเหนือ

                                                             32                                                                                                                     33


                                                      อาหารไทย ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                             พืชผักสมุนไพรสรางสุขภาพ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39