Page 29 -
P. 29

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ปริมาณการส่งออกยางพาราของโลก  และพื นที เพาะปลูกยางพาราของโลก  รวมไปถึง การวิจัยพัฒนา

               ปรับปรุงพันธุ์ยางพาราตลอดจนเทคนิคการผลิตที ดีขึ น  ฤดูกาลที ส่งผลต่อผลผลิตนํ ายาง
                       ในประเทศไทย ประมาณร้อยละ 80 ของสวนยางทั งหมดผลิตยางในรูปยางแห้ง ได้แก่ ยางแผ่น

               รมควัน ยางแผ่นดิบ ยางก้อนถ้วย เศษยาง ขี ยาง และในรูปของนํ ายางสดร้อยละ 20 ของสวนยาง โดยตลาด

               ยางของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะได้แก่ ตลาดท้องถิ น ตลาดกลางยางพารา และตลาดซื อขาย
               ล่วงหน้า (สถาบันวิจัยยาง, 2549)  ตลาดยางท้องถิ น เป็นตลาดที ซื อขายโดยมีการส่งมอบยางจริง

               ภายในประเทศพบในภาคใต้และภาคตะวันออกเป็นส่วนใหญ่ เนื องจากเป็นแหล่งเพาะปลูกยางพาราเดิม มี

               การซื อขายตามชนิดและคุณภาพของยาง ชาวสวนยางส่วนใหญ่นิยมขายยางผ่านตลาดท้องถิ น ตลาดยาง

               ท้องถิ นจะประกอบด้วยพ่อค้ารับซื อยาง ตั งแต่ระดับหมู่บ้าน ไปจนถึงระดับจังหวัด  และโรงงานแปรรูปยาง
               ซึ งส่วนใหญ่จะเป็นผู้ส่งออกยางด้วย  ตลาดกลางยางพารา เป็นตลาดที ซื อขายโดยมีการส่งมอบยางจริง

               เช่นเดียวกับตลาดท้องถิ นทั วไป บทบาทของตลาดกลางยางพาราต่อการซื อขายยางภายในประเทศทวี

               ความสําคัญขึ นเรื อย ๆ ทําให้เกษตรกรมีทางเลือกในการขายผลผลิต ผู้ซื อมีความมั นใจในคุณภาพของยางที

               ประมูลผ่านตลาดกลาง และตลาดยางท้องถิ นใช้เป็นราคาอ้างอิง ช่วยให้การซื อขายมีความเป็นธรรมมากขึ น
               สําหรับตลาดซื อขายล่วงหน้า ปริมาณสัญญาซื อขายยางยังมีจํานวนไม่มากนัก

                       ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศที มีส่วนแบ่งทางการตลาดที มากที สุดในตลาดโลกแต่ก็ไม่

               สามารถกําหนดราคายางพาราได้  เนื องจากโครงสร้างตลาดยางพาราโลกเป็นแบบผู้ซื อน้อยราย ดังนั นผู้ซื อ
               มีอิทธิพลต่อการกําหนดราคายางมิใช่ผู้ขาย ประการถัดมาคือยางพาราไทยเป็นสินค้าที ยังคงต้องพึ งพาตลาด

               ต่างประเทศเป็นหลัก ดังนั น การกําหนดราคายางพาราในประเทศไทยนั นจะอ้างอิงมาจากราคา F.O.B. ใน

               ตลาดโลกที มาจากอุปสงค์และอุปทานของยางพาราโลก โดยส่งผ่านมาทางราคารับซื อของผู้ส่งออก หรือ
               ราคาขายของโรงงาน ส่งต่อผ่านราคารับซื อของโรงงานหรือราคาขายของพ่อค้าท้องถิ น และไปถึงราคารับ

               ซื อของพ่อค้าท้องถิ นหรือราคาที เกษตรกรได้รับ  (Agricultural Futures Trading Commission, 2007)


               มันสําปะหลัง

                       ราคามันสําปะหลังในตลาดโลก เกิดจากอุปสงค์และอุปทานของมันสําปะหลังในตลาดโลก

               (Agricultural Futures Trading Commission, 2007) โดยปัจจัยที ส่งผลต่อราคามันสําปะหลังโลกทางด้านอุป

               สงค์ ได้แก่ ปริมาณการอุปโภคบริโภคมันสําปะหลังของโลก ส่วนใหญ่การผลิตมันสําปะหลังเป็นการผลิต
               เพื อใช้บริโภคภายในประเทศของตนในรูปหัวมันสําปะหลังสด เว้นแต่ประเทศที มีผลผลิตส่วนเกิน อาทิ

               ไทย และ เวียดนาม ซึ งการค้ามันสําปะหลังในตลาดโลกจะอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์แปรรูป 2 ชนิดหลัก

               ได้แก่ มันสําปะหลังเส้นหรืออัดเม็ด และแป้งมันสําปะหลัง  ปริมาณการนําเข้ามันสําปะหลังของโลก โดย

               ประเทศผู้นําเข้ามันสําปะหลังหรืออัดเม็ดสําคัญ ประกอบด้วย จีน เกาหลีใต้ และสเปน และประเทศผู้นําเข้า
               แป้งมันสําปะหลังที สําคัญได้แก่ จีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ญี ปุ่น และสิงคโปร์   ปัจจัยที ส่งผลกระทบต่อการ

               นําเข้ามันปะหลังของประเทศผู้นําเข้าที สําคัญ อาทิ หากเกิดสภาพอากาศแห้งแล้งในยุโรปทําให้ราคาข้าว




                                                           2-9
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34