Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               การบริโภค (Hallegatte and Przyluski 2010)  การเกิดขึ นของภัยพิบัติทางธรรมชาติมักส่งผลกระทบทางลบ

               ต่ออุปทานหรือการผลิตสินค้า แต่หลายครั งก็ส่งผลกระทบทางบวกต่ออุปสงค์หรือการบริโภคสินค้า อัน
               นําไปสู่การขาดแคลนของสินค้า ภาวการณ์ขาดแคลนของสินค้าส่งผลทําให้ราคาสินค้าเพิ มสูงขึ น  อาทิ

               หลังจากเหตุการณ์พายุเฮอริเคนฟราน (the Hurricane Fran) ในปี ค.ศ. 1996 ราคาสินค้าที จําเป็นต่อการดํารง

               ชีวิตประจําวันในรัฐนอร์ทแคโรไลนา (North Carolina) ได้เพิ มสูงขึ นอย่างมาก (Zwolinski 2008) และ การ
               เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในฝั งตะวันออกของประเทศญี ปุ่นในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 ส่งผลให้ราคา

               สินค้าทั วไปโดยเฉลี ยที ค่าสูงขึ นเล็กน้อย (Naohito et al. 2014)

                     การศึกษาผลกระทบของภัยพิบัติทางธรรมชาติต่อราคาสินค้าเกษตร พบว่า เหตุการณ์อุณหภูมิสูง/ตํ า

               รุนแรง (extreme weather) คาดว่าจะทําให้ราคาสินค้าเกษตร อาทิ ข้าว ข้าวสาลี และข้าวโพด รวมถึงราคา
               อาหารอื นๆ นอกเหนือจากข้าวและเนื อสัตว์ เพิ มสูงขึ นในอนาคต (Wilenbockel 2010)  เช่นกันการ

               เปลี ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (climate change) ก็มีผลให้ราคาธัญพืช (grain crops) และอาหารหลัก

               (food staples) เช่น ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ (Barley) และ ข้าวไรย์ (Rye) เพิ มสูงขึ น อันเป็นผลมาจากปริมาณ

               ผลผลิตทางการเกษตรที ลดลง (Safonov and Safonova 2013)  นอกจากนี  ยังพบว่า ในประเทศไต้หวั น
               นอกเหนือจากการเปลี ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ระดับนํ าทะเลก็ส่งผลต่อปริมาณผลผลิตและราคาของ

               สินค้าเกษตร  โดยพืชที ได้รับผลกระทบอย่างมาก ได้แก่ พืชถั ว อาทิ ถั วลิสง ถั วเหลือง พืชพิเศษอย่างอ้อย

               และผลไม้ อาทิ แอปเปิ ล มะม่วง ซึ งล้วนเป็นพืชที เพาะปลูกในเขตชายฝั งทะเล (Coastal regions) ในขณะที
               ปริมาณผลผลิตและราคาของข้าวได้รับผลกระทบไม่มากนัก (Chang, Chen, and McCarl 2011)

                     อย่างไรก็ตาม ก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ราคาสินค้าเกษตรก็ถูกกําหนดจากแรงผลักดันระหว่างอุป

               สงค์และอุปทาน  Trostle (2008) ได้สรุปปัจจัยที มีผลกระทบต่อราคาพืชผลในสหรัฐอเมริกา โดยปัจจัย
               ทางด้านอุปสงค์ ประกอบด้วย การเติบโตของประชากร การเติบโตทางเศรษฐกิจ การบริโภคเนื อสัตว์ที

               เพิ มขึ น ความต้องการของเชื อเพลิงชีวภาพ และนโยบายการนําเข้า ส่วนปัจจัยทางด้านอุปทาน ประกอบด้วย

               เทคโนโลยีการผลิต ราคานํ ามันและราคาปัจจัยการผลิตอื นๆ ตลอดจนสภาพอากาศที เลวร้ายจากการศึกษา
               ของ Trostle (2008) จะเห็นได้ว่าภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (climate

               changes) ได้ส่งผลกระทบที เด่นชัดต่อด้านอุปทาน กล่าวคือภัยพิบัติทางธรรมชาตินําไปสู่การลดลงของ

               ผลผลิตในการเพาะปลูก

                     ผลกระทบของภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที มีต่อพืชผลแตกต่างกัน
               ไปขึ นอยู่กับประเภทของภัยพิบัติและชนิดของพืชผล  Deryng et al. (2014) ได้ใช้แบบจําลองเกี ยวกับพืชผล

               PEGASUS ในการศึกษาผลกระทบของการเปลี ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อจํานวนผลผลิตของข้าวโพด ข้าว

               สาลี และถั วเหลืองในช่วงการเจริญพันธุ์ของพืช (the crop reproduction phase)  ผลจากการศึกษาชี ว่าระดับ
               ผลผลิตที แตกต่างกันในพืชแต่ละชนิดเป็นผลมาจากความแตกต่างในระดับของอุณหภูมิที สูงผิดปกติและ

               ระดับของคาร์บอนในดิน (Carbon fertilization)  นอกจากนี ยังพบว่าก่อให้ผลกระทบเชิงลบต่อผลผลิต

               ข้าวโพด ผลกระทบเชิงบวกต่อผลผลิตข้าวสาลี และผลกระทบกึ งลบกึ งบวกต่อผลผลิตถั วเหลือง  Miao et




                                                          2-14
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39