Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
al. (2016) ได้ทําการศึกษาผลกระทบของการเปลี ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการปลูกข้าวโพดหรือถั ว
เหลือง และพบว่าการเปลี ยนแปลงภูมิอากาศทําให้ผลผลิตของข้าวโพดลดลง 7 – 41% และทําให้ผลผลิตของ
ถั วเหลืองลดลง 8 – 45% ขึ นอยู่กับสถานการณ์ของการเปลี ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและข้อสมมติฐานของ
สภาพภูมิอากาศโลก
งานศึกษาวิจัยเกี ยวกับความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรในประเทศไทยว่ามีสาเหตุมาจากภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติหรือไม่ ยังไม่พบเป็นที แพร่หลายมากนัก การศึกษาวิจัยเกี ยวกับผลกระทบของภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติต่อพืชเศรษฐกิจในประเทศไทยส่วนมากมักเป็นการศึกษาถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติต่อระดับ
ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต (เกริก ปั นเหน่งเพ็ชร และคณะ 2552; วิเชียร เกิดสุข, ศุภกร ชินวรรโณ, และ
พรวิไล ไทรโพธิ ทอง 2554; ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554; ยรรยง อินทร์ม่วง
2556) หรือเป็นการศึกษาถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ (สาธิต วงศ์
อนันต์นนท์ 2554; จิรัฐ เจนพึ งพร 2558)
สําหรับการศึกษาผลกระทบของภัยธรรมชาติต่อผลผลิตทางการเกษตรในประเทศไทย พบความ
แตกต่างกันออกไปบ้างในระดับของความรุนแรง ตามแต่ชนิดของพืชและพื นที เพาะปลูก การศึกษา
ผลกระทบของการเปลี ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื นที ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยโดยยรรยง
อินทร์ม่วง (2556) พบว่า ปริมาณนํ าฝนที ลดลง ประกอบกับภัยแล้งที รุนแรงส่งผลให้ผลผลิตข้าวลดลง
ในขณะที การศึกษาโดยศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2554) พบว่าอุณหภูมิที สูงขึ นจะ
ส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเปลี ยนแปลงผลผลิตข้าว แต่พบว่าผลผลิตรายปี มีความแปรปรวนเพิ มขึ น
เช่นเดียวกับการศึกษาของเกริก ปั นเหน่งเพ็ชร และคณะ (2552) ที พบว่าภาวะโลกร้อนไม่ได้ส่งผลกระทบที
รุนแรงต่อข้าว อ้อย และข้าวโพด แต่ส่งผลกระทบที รุนแรงต่อมันสําปะหลัง เนื องจากพบว่าผลผลิตของมัน
สําปะหลังมีความแปรปรวนรายปีสูงและความแปรปรวนของผลผลิตระหว่างพื นที สูง โดยสาเหตุส่วนใหญ่
มาจากการกระจายตัวของฝนและปริมาณนํ าฝน ซึ งสอดคล้องกับผลการศึกษาของวิเชียร เกิดสุข ศุภกร
ชินวรรโณ และพรวิไล ไทรโพธิ ทอง (2554) ที พบว่าอุณหภูมิที สูงขึ น การกระจายตัวของนํ าฝนและปริมาณ
นํ าฝน อันส่งผลต่อภาวะนํ าท่วมและภัยแล้งรุนแรง จะส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสําปะหลังมากที สุด โดย
ผลผลิตของมันสําปะหลังมีแนวโน้มลดลงเรื อยๆ เช่นเดียวกับผลผลิตข้าวโพดเลี ยงสัตว์ ในขณะที ผลผลิต
ข้าวมีแนวโน้มคงที และผลผลิตอ้อยมีแนวโน้มไม่เปลี ยนแปลงมากนัก อย่างไรก็ตามการศึกษาของจิรัฐ เจน
พึ งพร (2558) พบว่าปรากฏการณ์เอลนิโญจะทําให้ฝนตกน้อยลงมาก ส่งผลให้เกิดภัยแล้ง โดยภัยแล้งจะ
ส่งผลให้ผลผลิตข้าวลดลง 5 – 10% จากผลดังกล่าวทําให้ จิรัฐ เจนพึ งพร (2558) คาดการณ์ว่าการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจของไทยจะลดลง 0.5%
ความผันผวนของราคาพืชผลการเกษตรมักส่งผลกระทบต่อรายได้และความเป็นอยู่ของเกษตรกร
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2554) ได้ประเมินผลกระทบทางภาคเกษตรจากสถานการณ์อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554
เทียบกับปี พ.ศ. 2553 พบว่า ภาวะฝนตกหนักทําให้เกษตรกรทําการเก็บเกี ยวก่อนเวลาอันสมคาร ส่งผลให้
เมล็ดข้าวไม่มีคุณภาพ และขายได้ในราคาที ตํ ากว่าราคาตลาด เช่นกันกับสาธิต วงศ์อนันต์นนท์ (2554) ได้
2-15