Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               สําหรับการขายให้โรงงานสกัดโดยตรงเป็นอีกหนึ งช่องทางในการขายผลผลิต โดยปัจจัยที ทําให้เกษตรกร

               ต้องการขายผ่านช่องทางนี เนื องจากโรงสกัดมักรับซื อในราคาที สูงกว่าลานเท ดังนั น ราคาซื อขายปาล์มสด
               จะถูกกําหนดโดยลานเท และโรงสกัด โดยในแต่ละวันราคาจะมีความผันผวนขึ นอยู่กับหลายปัจจัย อาทิ

               ราคาของลานเท/โรงสกัดคู่แข่ง  ราคาปาล์มนํ ามันที โรงกลั นรับซื อ และยังมีปัจจัยอื น ๆ ที เกี ยวกับผลผลิต

               อาทิ ความสุกของผลปาล์ม ขนาด ความสด และพันธุ์ปาล์ม เป็นต้น โดยเกษตรกรส่วนใหญ่จะได้รับราคา
               ขายปาล์มนํ ามันเท่ากับราคาประกาศหน้าสถานที รับซื อ (สุทธิจิตต์ เชิงทอง และคณะ , 2552)



               2.3 ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรและผลกระทบของภัยพิบัติทางธรรมชาติต่อภาคการเกษตร

                     ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรในช่วงเวลาหนึ งๆ ขึ นอยู่กับปัจจัยทั งทางด้านอุปสงค์และอุปทาน

               ณ ช่วงเวลานั นๆ สินค้าเกษตรแต่ละชนิดย่อมมีปัจจัยหลักที ส่งผลต่อความผันผวนของราคาแตกต่างกัน
               ออกไป  อย่างไรก็ตาม ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรที เป็นพืชเศรษฐกิจมักมีสาเหตุหลักจากปัจจัย 2

               ประการ คือ ปริมาณผลผลิตภายในประเทศที ล้นตลาด ซึ งมักจะเกิดขึ นในช่วงระยะเวลาเก็บเกี ยวพืช

               เศรษฐกิจนั น และราคาของพืชเศรษฐกิจชนิดนั นๆ ในตลาดต่างประเทศ  ส่วนปัจจัยอื นๆ อาทิ ผลผลิตต่อ
               พื นที ตํ า  ราคาปัจจัยการผลิตที สูงส่งผลให้ต้นทุนการผลิตเพิ ม ก็ส่งผลกระทบอยู่บ้าง (สํานักวิชาการ

               สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 2557)

                     ข้าวเป็นสินค้าเกษตรที ราคาเกิดความผันผวนอย่างต่อเนื อง โดยดัชนีราคาตามฤดูกาลของข้าวมีค่าตํ า
               ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม ซึ งเป็นช่วงฤดูเก็บเกี ยว  และมีค่าสูงในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือน

               ตุลาคม ซึ งเป็นช่วงนอกฤดูเก็บเกี ยว (นาตยา ตรงเที ยง 2545; สุภัทรา พันทวี 2551; ปริยากร บุญส่ง 2557;

               อรวรรณ ศรีโสมพันธ์ และคณะ 2557)  หลายการศึกษาพบว่า ราคาข้าวเปลือกที เกษตรกรได้รับมีลักษณะ
               การเคลื อนไหวแบบวัฏจักร บ้างพบว่าการเปลี ยนแปลงตามวัฏจักรของราคาข้าวเปลือกที เกษตรกรได้รับ

               มีวัฏจักรคิดเป็น 3 รอบ โดยวัฏจักรแรกใช้เวลา 6 ปี วัฏจักรที สองใช้เวลา 4 ปี และวัฏจักรที สามใช้เวลา 6 ปี

               (นาตยา ตรงเที ยง 2545) ในขณะที บางการศึกษาพบการเคลื อนไหวแบบวัฏจักรที ไม่ชัดเจนมากนัก (สุภัทรา

               พันทวี 2551)  ปัจจัยที มีอิทธิพลต่อราคาข้าวภายในประเทศ ประกอบด้วย ราคาข้าวภายในประเทศในช่วงปี
               ที ผ่านมา  ปริมาณผลผลิตข้าวโลก  ปริมาณข้าวเหลือเพื อการส่งออก ปริมาณการใช้ข้าวโลก  ปริมาณการส่ง

               ข้าวออกต่างประเทศของเวียดนาม และราคาข้าวส่งออก  (กรองทิพย์ เขียนทอง 2536)

                     ความผันผวนของราคายางพาราในประเทศไทยมักมีสาเหตุหลักมาจากปัจจัยภายนอกประเทศ อาทิ
               ราคายางในตลาดโลก ราคานํ ามันดิบในตลาดโลก และอัตราแลกเปลี ยนระหว่างเงินบาทกับเงินดอลลาร์

               สหรัฐฯ สําหรับปัจจัยภายอื นๆ ที ส่งผลกระทบต่อราคายางพาราอยู่บ้าง ได้แก่ ดัชนีราคายางในตลาด

               ล่วงหน้า และปริมาณยางพาราคงคลัง (stock) เป็นต้น (ปิติ กันตังกุล  มปป.; จารินี วัฒนไทย  มปป.; กิตติพศ

               หวังรัตนภักดี และเรวัติ ธรรมาอภิรมย์  2553; ภาสกร ธรรมโชติ และ วีระศักดิ  คงฤทธิ  2556; สถาบันวิจัย
               ยาง 2559)  เช่นเดียวกันกับประเทศเพื อนบ้านของไทย อย่างมาเลเซีย ปัจจัยสําคัญที ส่งผลต่อราคายางใน

               ประเทศมาเลเซีย ได้แก่ ราคายางในตลาดโลก และปริมาณยางพาราคงเหลือภายในประเทศ  (MdLudin,




                                                          2-11
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36