Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                          นอกจากนี้ ประสิทธิภาพทางการผลิตคาดวาเปนอีกปจจัยที่ชวยยกระดับรายไดภาคเกษตรของ

                   ครัวเรือนผูเชาที่ดินใหมีการเติบโตอยางรวดเร็ว ดังจะเห็นไดวารายไดสุทธิภาคเกษตรเทียบกับจํานวน
                   สมาชิกครัวเรือนและเทียบกับขนาดพื้นที่สูงถึง 27,027 บาทตอคน (ตาราง 5.7) และ 2,812 บาทตอไร

                   (ตาราง 5.8) ตามลําดับ ซึ่งสูงกวาของรายไดของครัวเรือนอีกสองกลุมคอนขางชัดเจน โดยเฉพาะอยางยิ่ง

                   เมื่อเทียบกับครัวเรือนผูปลอยเชาที่ดิน รายไดสุทธิภาคเกษตรตอหัวและตอพื้นที่ของครัวเรือนผูปลอยเชา
                   ที่ดินเฉลี่ยเพียง  11,189 บาทตอคน  1485  บาทตอไร ตามลําดับ  ระดับผลตอบแทนตอขนาดที่ดินที่ต่ํา

                   กวาครัวเรือนกลุมอื่นๆ สะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพในการผลิตที่ต่ําของครัวเรือนที่เปนผูปลอยเชาที่ดิน

                   ดังนั้นการปลอยเชาที่ดินของเกษตรกรกลุมนี้จึงคาดวาจะสอดคลองกับกับสมมติฐานเรื่องการเคลื่อนยาย
                   ที่ดินทํากินจากเกษตรกรที่มีที่ดินมากแตความสามารถนอยไปยังเกษตรกรที่มีความสามารถมากแตขาด

                   แคลนที่ดิน

                          ครัวเรือนผูปลอยเชาที่ดินมีรายไดสุทธิจากการเกษตรนอยกวาครัวเรือนทุกกลุม ไมวาจะพิจารณา

                   เทียบกับจํานวนสมาชิกหรือพื้นที่ทําการเกษตร แตรายไดสุทธินอกภาคเกษตรของครัวเรือนกลุมนี้จะสูง

                   ที่สุด รายไดสุทธินอกภาคเกษตรของครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินสูงที่สุด เฉลี่ย 157,559 บาทตอครัวเรือน
                   รองลงมาไดแกครัวเรือนที่เชาที่ดินทํากิน เฉลี่ย 106,026 บาทตอครัวเรือน และครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะ

                   บนที่ดินตนเอง เฉลี่ย 89,715 บาทตอครัวเรือน ความแตกตางดานโครงสรางประชากรในครัวเรือนเปน

                   ปจจัยสําคัญที่ทําใหรายไดนอกภาคเกษตรมีบทบาทมากกวารายไดจากการเกษตรของครัวเรือนที่ปลอย
                   เชาที่ดิน ดังที่ไดอธิบายไปแลวกอนหนานี้วา อายุที่มากของหัวหนาครัวเรือนและสัดสวนที่สูงของหัวหนา

                   ครัวเรือนที่เปนเพศหญิงอาจเปนขอดอยทางประสิทธิภาพตอการทําการเกษตรของครัวเรือนผูปลอยเชา

                   ที่ดิน อีกทั้งจํานวนจํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่นอยกวาก็เปนขอจํากัดดานแรงงานอีกดวย เกษตรกรจึง
                   จําเปนตองตัดสินใจปลอยเชาที่ดินบางสวนออกไป ในขณะที่ระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือนที่สูงกวา

                   อีกสองกลุมก็หมายถึงโอกาสในตลาดแรงงานนอกภาคเกษตรที่เปดกวางกวา สงผลใหสัดสวนรายไดนอก

                   ภาคเกษตรมีความสําคัญมากสําคัญเกษตรกรกลุมนี้

                          เปนที่นาสนใจวา รายไดสุทธิครัวเรือน (รวมรายไดสุทธิภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร) ของ

                   ครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเองนอยกวาทั้งครัวเรือนผูเชาและผูปลอยเชา อยางไรก็ตาม เมื่อ
                   เปรียบเทียบป 2013 กับป 2000 จะเห็นไดวารายไดสุทธิรวมของครัวเรือนกลุมนี้การเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูง

                   มากอยางเห็นไดชัด โดยรายไดสุทธิทั้งหมดเพิ่มขึ้นถึง 2.36 เทา ในขณะที่รายไดสุทธิทั้งหมดตอคนเพิ่มขึ้น

                   2.98 เทา โดยมีรายไดนอกภาคเกษตรมีบทบาทที่สําคัญตอการยกระดับรายไดรวมของครัวเรือน



















                                                             5-12
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68