Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   การผลิต ดังนี้ คาจางแรงงาน 25,503 บาทตอครัวเรือน คาเชาเครื่องจักร 11,321 บาทตอครัวเรือน คา

                   เชาที่ดิน 23,658 บาทตอครัวเรือน และคาใชจายอื่นๆ 74,223 บาทตอครัวเรือน คาใชจายสําหรับที่ดิน
                   หรือคาเชาที่ดินเพิ่มขึ้นเกือบสามเทาในชวงเวลา 14 ป โดยในป 2000 ครัวเรือนที่เชาที่ดินเสียคาเชาเฉลี่ย

                   เพียง 6,687 บาท คาใชจายในการเชาที่ดินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และสูงสุดในป 2013 เทากับ 20,897 บาท

                   เชนเดียวกัน คาใชจายในหมวดอื่นๆ ก็เพิ่มขึ้นมากกวาในอดีต ซึ่งเปนจริงสําหรับทุกครัวเรือนยกเวนกรณี
                   ครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดิน เพราะคาจางแรงงานของครัวเรือนกลุมนี้กลับมีแนวโนมลดลง โดยคาจาง

                   แรงงานในป 2013 ลดลงรอยละ 38.36 เทียบกับป 2000 ซึ่งสอดคลองกับขนาดพื้นที่ทําการเกษตรของ

                   ครัวเรือนที่ลดลง แรงงานจางจึงเปนปจจัยผันแปรประเภทแรกๆ ที่ถูกปรับลดลง ขอสังเกตอีกประการคือ
                   คาใชจายในแตละหมวดของครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินมีความผันผวนปตอปสูงกวาครัวเรือนอีกสองกลุม

                   ซึ่งอาจเปนเพราะเกษตรกรรมไมใชอาชีพหลักของครัวเรือนกลุมนี้ แตดวยเกษตรกรมีที่ดินที่เปนเจาของ

                   จํานวนมาก ดังนั้นการปรับขนาดการผลิตและการใชปจจัยการผลิตจึงมีความยืดหยุนมากกวา

                           แมวาคาใชจายในสวนของคาเชาที่ดินจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกป แตสัดสวนของคาเชาตอ

                   คาใชจายทั้งหมดไมไดเปลี่ยนแปลงมากนักจากในอดีต จากตาราง 5.11  คาเชาที่ดินคิดเปนรอยละ 10.42
                   ของคาใชจายรวมในป 2000 และเทากับรอยละ 11.94 ในป 2013 จะเห็นไดวาสัดสวนคาเชาเพิ่มขึ้นเพียง

                   เล็กนอย หากเฉลี่ยทั้ง 14 ป จะไดวาคาเชาที่ดินคิดเปนสัดสวนรอยละ 10.57 ของคาใชจายทั้งหมดสําหรับ

                   ครัวเรือนที่มีการเชาที่ดิน ครัวเรือนปลอยเชาที่ดินและครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะบนที่ตนเองมีการลดสัดสวน
                   คาใชจายในสวนของแรงงานจาง ในขณะที่ครัวเรือนเชามีสัดสวนแรงงานเชาเพิ่มขึ้นเล็กนอย แสดงใหเห็น

                   วาครัวเรือนเชาพึงพิงแรงงานจางเปนหลักและในอนาคตจะไดรับผลกระทบจากปญหาการขาดแคลน

                   แรงงานในภาคเกษตรมากกวาครัวเรือนกลุมอื่นๆ  สัดสวนคาใชจายในสําหรับเครื่องจักรและปจจัยการ
                   ผลิตอื่นๆ ไมแตกตางกันมาก


                          เมื่อเทียบคาใชจายแตละหมวดเทียบกับพื้นที่ทําการเกษตร (ตาราง 5.12) พบวา เกษตรกรกลุม
                   ที่ปลอยเชาที่ดินซึ่งมีคาใชจายรวมในการผลิตสูงที่สุดก็ยังคงมีคาใชจายในการผลิตตอไรสูงกวาครัวเรือนอีก

                   สองกลุมอีกดวย แบงเปนคาจางแรงงาน 575 บาทตอไร คาเชาเครื่องจักร 535 บาทตอไร คาเชาที่ดิน

                   254 บาทตอไร และคาใชจายอื่นๆ 1,059 บาทตอไร คาใชจายตอไรที่สูงนี้แสดงใหเห็นวาเกษตรกรผูเชา
                   ที่ดินเนนการทําเกษตรแบบ Intensive farming หากนี่เปนการใชปจจัยการผลิตที่มากเกินไปก็อาจสงผล

                   ตอประสิทธิภาพดานกําไรและผลกระทบระยะยาวตอคุณภาพดินอีกดวย ที่นาตกใจคือคาเชาที่ดินเพิ่มขึ้น

                   อยางมากเมื่อเทียบกับในอดีต ในป 2000 เกษตรกรจายคาเชาเฉลี่ยไรละ 155 บาท แตในป 2013 คาเชา
                   ที่ดินตอไรเพิ่มขึ้นสูงถึง 454 บาท นอกจากนี้ ยังพบวาครัวเรือนที่เชาที่ดินมีการเพิ่มคาใชจายตอไรของ

                   คาจางเครื่องจักรกลในอัตราที่ต่ํากวาคาใชจายทุกหมวด โดยคาจางเครื่องจักรตอไรในป 2013 เพิ่มขึ้น

                   เพียง 1.12 เทา เทียบกับป 2000 ในขณะที่คาจางแรงงาน คาเชาที่ดิน และคาใชจายประเภทอื่นๆ (เชน
                   เมล็ดพันธุ ปุย เปนตน) เพิ่มสูงขึ้นเกิน 1.5 เทา อาจเปนไปไดวาคาเชาเครื่องจักรคอนขางแพงเมื่อเทียบกับ

                   คาใชจายสําหรับปจจัยประเภทอื่น ดังนั้นเกษตรกรจึงเลือกใชปจจัยอื่นมากขึ้นเทียบกับเครื่องจักรกล






                                                             5-15
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71