Page 63 -
P. 63
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 5.7 การพูดคุยเกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืชของเกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูกพืชผักที่ท าการศึกษาใน
จังหวัดนครปฐม ปทุมธานี และราชบุรี ปีการผลิต 2558/59
การพูดคุย
แหล่งข้อมูล เฉลี่ย
นครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี
เจ้าหน้าที่ส่งเสริม 1.27 1.28 1.69 1.41
ผู้ใหญ่บ้าน 1.24 1.57 0.95 1.25
ร้านขายยา 1.71 1.68 2.59 1.99
เพื่อนบ้าน 2.69 2.49 3.09 2.76
คนในครอบครัว 2.91 2.56 3.37 2.95
หมายเหตุ: 0 เท่ากับ ไม่เคย และ 4 เท่ากับ เป็นประจ า ตามล าดับ
เกษตรกรตัวอย่างจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี และราชบุรี จ านวน 303 ครัวเรือน รู้จักและรับรู้เกี่ยวกับ
การควบคุมและจัดการศัตรูพืชที่ไม่ใช้สารเคมีที่หลากหลายวิธี โดยเกษตรกรตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 99.01
รู้จักการควบคุมและก าจัดศัตรูพืชโดยการปรับสภาพแวดล้อม เช่น การท าความสะอาดแปลงด้วยการพรวนดิน
ตากดิน เป็นต้น ต่อมาเป็นการปลูกพืชหมุนเวียนร้อยละ 97.36 วิธีการปูองกันและก าจัดศัตรูพืชโดยใช้สารสกัด
สมุนไพรร้อยละ 95.71 วิธีการกางมุ้งร้อยละ 94.39 วิธีการใช้พลาสติกคลุมดิน ร้อยละ 93.40 วิธีการใช้สาร
ก าจัดศัตรูพืชที่เป็นอนินทรีย์ เช่น ปูนขาว ซัลเฟอร์ เกลือ เป็นต้น ร้อยละ 92.74 วิธีการเก็บแมลงด้วยมือ
ร้อยละ 91.09 ส่วนวิธีการควบคุมและจัดการศัตรูพืชที่ไม่ใช้สารเคมีที่เกษตรกรตัวอย่างรู้จักน้อยที่สุดคือ
วิธีการปล่อยแมลงศัตรูธรรมชาติ เช่น ตัวห้ า ตัวเบียน ลงในแปลง โดยเกษตรกรรู้จักเพียงร้อยละ 61.72
เมื่อพิจารณาถึงการควบคุมและจัดการศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมีของเกษตรกรตัวอย่าง พบว่า
เกษตรกรเคยใช้วิธีการควบคุมศัตรูพืชโดยปรับสภาพแวดล้อมในการปลูกสูงที่สุดร้อยละ 94.72 และในอนาคต
คาดการณ์ว่าใช้วิธีนี้ต่อมากถึงร้อยละ 99.65 ของเกษตรกรที่เคยใช้วิธีนี้ จากการลงส ารวจภาคสนาม พบว่า
เกษตรกรใช้วิธีการควบคุมศัตรูพืชโดยปรับสภาพแวดล้อมในการเพาะปลูก เช่น การท าความสะอาดแปลงด้วย
การพรวนดิน และตากดิน เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก ไม่ต้องมีเทคโนโลยีในการก าจัดศัตรูพืชที่ซับซ้อน รวมทั้ง
ทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชมีอยู่อย่างจ ากัด ท าให้เกษตรกรใช้วิธีที่มีอยู่ดั้งเดิมตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ ท าให้
ปัจจุบันเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักเลือกใช้วิธีการนี้เป็นจ านวนมาก และในอนาคตคาดว่าจะใช้เช่นกัน เพราะ
เกษตรกรมีความเชื่อมั่นในวิธีการนี้ รวมทั้งมีต้นทุนในการจัดการที่ต่ า และสะดวกต่อการจัดการ วิธีการควบคุม
ศัตรูพืชรองลงมา คือ วิธีการปลูกพืชหมุนเวียนร้อยละ 87 และเกษตรกรคาดว่าจะใช้วิธีนี้ต่อไป ถึงร้อยละ
99.62 ของเกษตรกรที่เคยใช้วิธีการนี้ ในขณะที่วิธีการกางมุ้ง เกษตรกรตัวอย่างไม่เคยใช้สูงที่สุด โดยมี
เกษตรกรที่เคยใช้เพียงร้อยละ 3.96 และในอนาคตคาดว่าจะใช้ต่อต่ าที่สุดเช่นกัน และเมื่อพิจารณาถึงวิธีการ
คบคุมและจัดการศัตรูพืชที่ไม่ใช้สารเคมีที่เกษตรกรไม่เคยใช้สูงที่สุด คือวิธีการกางมุ้งร้อยละ 96.04 และใน
อนาคตยังได้คาดการณ์ว่าจะใช้วิธีการนี้เพียงร้อยละ 5.84 แต่อย่างไรก็ตามวิธีการปล่อยแมลงศัตรูธรรมชาติ
48