Page 61 -
P. 61
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เมื่อพิจารณาจ านวนรอบการเพาะพืชผักของเกษตรกรตัวอย่างในจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี และ
ราชบุรี พบว่า ผักบุ้งมีจ านวนการเพาะปลูกเฉลี่ยต่อปีสูงที่สุด โดยมีการเพาะปลูกเฉลี่ย 7 รอบต่อปี รองลงมา
คือผักกาดขาวมีจ านวนการเพาะปลูกเฉลี่ย 6.67 รอบต่อปี ต่อมา คือ ผัดสลัดมีจ านวนการเพาะปลูก 6.50
รอบต่อปี และผักคะน้ามีจ านวนการเพาะปลูกเฉลี่ย 5.57 รอบต่อปี (ตารางที่ 5.5) จากฐานข้อมูลพืชผักใน
บทความเกษตร (2554) สรุปว่า หนึ่งรอบการเพาะปลูกผักบุ้งใช้ระยะเวลา 30-45 วัน ซึ่งเกษตรกรสามารถ
ปลูกผักบุ้งได้ 7-9 รอบต่อปี ส่วนผักกาดขาวใช้ระยะเวลาในการเพาะปลูก 45 วัน ผักสลัดใช้ระยะเวลาในการ
เพาะปลูก 40-45 วัน และคะน้าใช้ระยะเวลาในการเพาะปลูก 55-60 วัน
ตารางที่ 5.5 จ านวนรอบการเพาะปลูกเฉลี่ยของแต่ละชนิดผักของเกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูกพืชผักที่
ท าการศึกษาที่ท าการศึกษาที่ท าการศึกษาในจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี และราชบุรี
ปีการผลิต 2558/59
จ านวนรอบการเพาะปลูกเฉลี่ย จ านวนรอบการเพาะปลูกเฉลี่ย
ชนิดพืชผัก ชนิดพืชผัก
(รอบต่อปี) (รอบต่อปี)
กระชาย 1.44 บวบหอม 3.00
กวางตุ้ง 5.51 บวบเหลี่ยม 2.40
กะเพรา 1.80 ผักกาดขาว 6.67
กะหล่ าปลี 1.00 ผักกาดหอม 4.50
ก้านจอง 3.00 ผักชี 2.00
กุยช่าย 1.00 ผักบุ้ง 7.00
ขมิ้นขาว 1.00 ผักสลัด 6.50
ข้าวโพดหวาน 2.88 พริก 1.56
โขมสร้อย 3.00 มะเขือเทศสีดา 2.00
คะน้า 5.57 มะเขือเปราะ 1.20
ชะอม 1.00 มะเขือม่วง 1.00
ดีปลี 1.00 มะเขือยาว 1.22
ตะไคร้ 1.91 มะระ 1.50
ตั้งโอ๋ 1.00 เรดแรบบิท 4.00
แตงกวา 2.96 สะเดา 1.00
แตงร้าน 2.50 โหระพา 1.33
ถั่วฝักยาว 3.02
5.3 การจัดการศัตรูพืชของเกษตรกรตัวอย่าง
การส ารวจพื้นที่ภาคสนามของเกษตรกรผู้ปลูกผักจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี และราชบุรี พบว่า
เกษตรกรตัวอย่างมีลักษณะการจัดการศัตรูพืชทั้งแบบใช้สารเคมี และแบบไม่ใช้สารเคมี โดยพบว่า เกษตรกร
ตัวอย่างที่มีการจัดการศัตรูพืชแบบใช้สารเคมี ประกอบไปด้วยเกษตรกรที่ใช้สารเคมีเพียงอย่างเดียว และ
46