Page 132 -
P. 132
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โดยสรุปสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะการเกษตรโดยแบ่งเป็นการปลูกไม้ยืนต้น พืช
โรงเรือน และการปลูกเมล็ดพันธุ์และผลกระทบที่มีต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ตารางที่ 5.7 สรุปเปรียบเทียบความแตกต่างตัวแปรทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของลักษณะ
การเกษตร
ลักษณะการเกษตร ไม้ยืนต้น โรงเรือน เมล็ดพันธุ์
เศรษฐกิจ
รายได้สุทธิต่อไร่ + ++
รายได้รวม + +
การกระจายกระแสรายได้ + ++
ความสุขทางการเงิน +
สังคม
อัตราการพึ่งพิง + ++
ระดับหนี้สิน +
สัดส่วนหนี้ในระบบ +
สัดส่วนหนี้นอกระบบ +
ความมั่นคงทางอาหาร ไม่แตกต่าง
ความสุขโดยรวม + +
สิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ไม่แตกต่าง
การเปลี่ยนแปลงการใช้สารเคมี ไม่แตกต่าง
การเปลี่ยนแปลงปัญหาน้ํา ไม่แตกต่าง
การใช้ปุ๋ยเคมี +
การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ +
การใช้ยาฆ่าแมลง + +
การใช้ยาปราบวัชพืช + +
+ และ ++ หมายถึง ส่งผลในเชิงบวกต่อตัวแปรอย่างมีนัยสําคัญมากและมากที่สุดตามลําดับ
5.3 เปรียบเทียบต้นทุนการปลูกพืช
ปัจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งในการเลือกลักษณะการเกษตรรวมทั้งเป็นผลทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นกับ
เกษตรกรที่ควรได้รับความสนใจมากคือต้นทุนของการปลูกพืชแต่ละชนิดที่มีลักษณะแตกต่างกัน ต้นทุนในการ
ปลูกพืชเป็นภาระที่เกษตรกรต้องแบกรับในการลงทุนกับพืชแต่ละชนิด
5-19