Page 136 -
P. 136
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
120000
100000 110,608
80000
60000 41,250 39,500 42,750 34,875
40000 11,750 24,750 15,675 24,750 13,506 13,317 20,613 13,551 27,000 19,845 27,000 21,600
20000 7,298 5,360 4,778 5,100 2,480 2,790 3,320 4,720 4,340 8,475 7,575 1,500 2,715 2,715 5,400 10,340 1,500
0
มะม่วงกลุ่มวิสาหกิจ (บ้านป่ากลาง) มะม่วงนอกกลุ่มวิสาหกิจ (บ้านป่า… มะม่วง (บ้านสบเป็ด) กาแฟ (บ้านมณีพฤกษ์) กาแฟ (บ้านสันเจริญ) คะน้า (บ้านโป่งคํา) กวางตุ้ง (บ้านโป่งคํา) แตงกวาญี่ปุ่น (บ้านโป่งคํา) ฟักแฟง (บ้านโป่งคํา) คะน้า (บ้านแม่จริม) กวางตุ้ง (บ้านแม่จริม) แตงกวาญี่ปุ่น (บ้านแม่จริม) ฟักแฟง (บ้านแม่จริม) เมล็ดพันธุ์แตงกวา (บ้านแม่จริม) เมล็ดพันธุ์แตงโม (บ้านแม่จริม) เมล็ดพันธุ์มะระ (บ้านแม่จริม) พริกหวาน (บ้านถ้ําเวียงแก)
ต้นทุนเงินสด (หน่วย:บาท/ไร่/รอบ) ต้นทุนแรงงาน (หน่วย:บาท/ไร่/รอบ)
รูปที่ 5.3 ต้นทุนการดูแลและเก็บเกี่ยวต่อไร่ของพืชแต่ละชนิด แบ่งตามต้นทุนเงินสดและต้นทุนแรงงาน
นอกจากนี้ หากเปรียบเทียบต้นทุนต่อพื้นที่ของการปลูกพืชแต่ละระบบ (หน่วย: บาท/ไร่/ปี) (เช่น
การปลูกพืชหมุนเวียนจะมีการปลูกพืชหลายชนิดในพื้นที่เดียวกันในรอบปี ซึ่งจะนับเป็นต้นทุนที่เกิดในพื้นที่
เดียวกัน) จะพบว่าการปลูกพืชหมุนเวียนมีต้นทุนแรงงานที่สูงกว่าการปลูกพืชยืนต้นอย่างมาก แสดงให้เห็นว่า
ค่าตอบแทนแรงงานของเกษตรกรจากระบบพืชผสมผสานจะค่อนข้างสูง จํานวนแรงงานเกษตรในครัวเรือนจะ
เป็นปัจจัยสําคัญในการกําหนดว่าเกษตรกรสามารถทําการเกษตรแบบผสมผสานได้หรือไม่ และจะได้ประโยชน์
จากการทําเกษตรผสมผสานมากน้อยเพียงใด
การเปรียบเทียบต้นทุนเงินสดซึ่งสะท้อนภาระการลงทุนดําเนินการที่เกษตรกรต้องแบกรับต่อปี แสดง
ให้เห็นว่า เกษตรพันธะสัญญาจะสร้างภาระต้นทุนให้เกษตรกรได้มากกว่าการปลูกผักโรงเรือนในระบบเกษตร
ผสมผสานและการปลูกพืชยืนต้น ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้เกษตรกรในกลุ่มเกษตรพันธะสัญญามักใช้
วิธีกู้ปัจจัยการผลิตจากบริษัทรับซื้อ
5-23