Page 135 -
P. 135

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                  140000
                  120000                                                                         132,208  120,000
                  100000                                60,000  60,000  60,000
                  80000       50,000  40,425  50,000  48,825  50,000  41,000  48,150  49,340  55,488  40,551  46,845
                  60000     33,225
                  40000                           6,667  16,221  16,032     6,667  9,049  9,049  9,049
                  20000
                      0
                             คะน้า (บ้านโป่งคํา)  กวางตุ้ง (บ้านโป่งคํา)  แตงกวาญี่ปุ่น (บ้านโป่งคํา)  ฟักแฟง (บ้านโป่งคํา)  คะน้า (บ้านแม่จริม)  กวางตุ้ง (บ้านแม่จริม)  แตงกวาญี่ปุ่น (บ้านแม่จริม)  ฟักแฟง (บ้านแม่จริม)  เมล็ดพันธุ์แตงกวา (บ้านแม่จริม)  เมล็ดพันธุ์แตงโม (บ้านแม่จริม)  เมล็ดพันธุ์มะระ (บ้านแม่จริม)  พริกหวาน (บ้านถ้ําเวียงแก)












                                  ต้นทุนดูแลต่อรอบรวมเก็บเกี่ยว (หน่วย: บาท/ไร่/รอบ)  ต้นทุนคงที่ (หน่วย: บาท)

               รูปที่ 5.2 ต้นทุนต่อไร่ของพืชหมุนเวียน แบ่งตามโครงสร้างต้นทุน


                       นอกจากการแบ่งต้นทุนแบบต่างๆ แล้ว ผู้วิจัยได้แบ่งต้นทุนการดูแลรักษาพืชชนิดต่างๆ (พืชยืนต้นคือ

               ต้นทุนการดูแลรวมเก็บเกี่ยวในแต่ละปีหลังการเก็บเกี่ยวได้ในปีแรก และของพืชหมุนเวียนคือต้นทุนตั้งแต่ปลูก

               จนถึงเก็บเกี่ยว) ออกเป็นต้นทุนแรงงานและต้นทุนที่เป็นตัวเงินอื่นๆ ทั้งนี้ เนื่องจากเกษตรกรในพื้นที่เกือบ
               ทั้งหมดใช้การเอาแรงระหว่างเกษตรกรด้วยกันเอง ไม่ได้ใช้การจ้างแรงงานที่ต้องจ่ายเป็นตัวเงิน ดังนั้นต้นทุน

               แรงงานเหล่านี้จะเปรียบเสมือนเป็นการจ้างงานของเกษตรกรเอง โดยจะเสมือนว่าเกษตรกรได้รับเงิน

               ค่าตอบแทนแรงงานของตนเองในส่วนนี้ด้วย ในขณะที่ต้นทุนอื่นๆ ที่เป็นตัวเงินจะสะท้อนถึงภาระทางการเงิน
               ที่แท้จริงของการปลูกพืชแต่ละชนิด เมื่อเปรียบเทียบต้นทุนแรงงานและต้นทุนที่เป็นตัวเงินอื่นๆ ระหว่างพืชแต่

               ละชนิดพบว่า การปลูกไม้ยืนต้น (ทั้งมะม่วงและกาแฟ) มีต้นทุนเงินสดและต้นทุนแรงงานค่อนข้างต่ําเมื่อเทียบ

               กับพืชอื่นๆ ในขณะที่การปลูกพืชโรงเรือนและเมล็ดพันธุ์มีต้นทุนแรงงานต่อไร่ที่ค่อนข้างสูงมาก โดยเฉพาะการ
               ปลูกแตงกวาญี่ปุ่น เนื่องจากต้องการการดูแลมากกว่าไม้ยืนต้นมาก นอกจากนี้ สาเหตุที่ทําให้ต้นทุนการดูแล

               ต่อปีของบ้านโป่งคําสูงกว่าบ้านแม่จริม มาจากลักษณะการจัดสรรเวลาดูแลไร่ของเกษตรในบ้านโป่งคําที่ทําให้
               ต้นทุนแรงงานของบ้านโป่งคําสูงกว่าของบ้านแม่จริม



















                                                           5-22
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140