Page 134 -
P. 134

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                 60000
                                                                               40,470


                                30,405          26,060  28,700                                 24,269
                 40000                 31,300


                                    12,658                      20,400  20,500     15,070             13,000
                 20000                             9,878           5,270              7,000        9,060




                      0

                            มะม่วงกลุ่มวิสาหกิจ  มะม่วงนอกกลุ่มวิสาหกิจ  มะม่วง (บ้านสบเป็ด) กาแฟ (บ้านมณีพฤกษ์) กาแฟ (บ้านสันเจริญ)
                              (บ้านป่ากลาง)   (บ้านป่ากลาง)
                       ต้นทุนตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวครั้งแรก (มะม่วง หน่วย:บาท/ไร่/ระยะเวลาปลูก 5 ปี) (กาแฟ หน่วย:บาท/ไร่/ระยะเวลาปลูก 3 ปี)
                       ต้นทุนการดูแลต่อปีรวมเก็บเกี่ยว (หลังการเก็บเกี่ยวครั้งแรก) (หน่วย:บาท/ไร่/ปี)
                       ต้นทุนคงที่ (หน่วย: บาท)

               รูปที่ 5.1 ต้นทุนต่อไร่ของพืชยืนต้น แบ่งตามโครงสร้างต้นทุน


                       สําหรับพืชหมุนเวียนพบว่า การปลูกพืชโรงเรือนมีต้นทุนคงที่ที่สูงเมื่อเทียบกับพืชนอกโรงเรือนหรือ

               เมล็ดพันธุ์ เนื่องจากต้องมีการลงทุนสร้างโรงเรือนและระบบน้ํา ในขณะที่การปลูกพริกหวานมีต้นทุนคงที่ที่สูง

               ที่สุด เนื่องจากมีรอบการปลูกถึง 6 เดือนซึ่งยาวกว่าพืชโรงเรือนอื่น ในขณะที่ คะน้า กวางตุ้ง และแตงกวา ใช้
               โรงเรือนร่วมกันจึงมีการเฉลี่ยต้นทุนคงที่กันไป

                       และเมื่อพิจารณาต้นทุนการดูแลตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวซึ่งรวมต้นทุนแรงงานด้วยพบว่า พริกหวาน
                                                                                                       127
               เป็นพืชที่มีต้นทุนการดูแลสูงมากเช่นกันเนื่องจากพริกหวานเป็นพืชที่ต้องการการดูแลเรื่องปุ๋ยค่อนข้างมาก
               แต่ก็เป็นพืชที่มีรายได้เฉลี่ยต่อไร่สูงมากเช่นกันเนื่องจากเป็นพืชที่ใช้จุดเด่นจากความสูงของพื้นที่ มีตลาดเฉพาะ

               ข้อมูลส่วนนี้แสดงให้เห็นความสําคัญและความจําเป็นของกลไกในการสนับสนุนและช่วยเหลือในด้านปัจจัยการ

               ผลิตและต้นทุนคงที่ในเบื้องต้นในการส่งเสริมการปลูกผักโรงเรือนเพื่อทดแทนการปลูกพืชไร่เชิงเดี่ยวอย่าง
               ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นอกจากนี้ยังพบว่า ปลูกเมล็ดพันธุ์มีต้นทุนดูแลต่อรอบต่อไร่โดยเฉลี่ยสูงกว่าต้นทุนของการ

               ปลูกฟักแฟง คะน้า และกวางตุ้ง เนื่องจากการปลูกเมล็ดพันธุ์มีต้นทุนปุ๋ยเคมี อาหารเสริม และยาพ่นราน้ําค้าง
               ที่ใช้มากกว่าการปลูกพืชชนิดอื่น












               127 เพื่อความสอดคล้องในการเปรียบเทียบกับพืชอื่น ค่าลังกระดาษสําหรับขนส่งไปตลาดสี่มุมเมืองและค่าขนส่งจะไม่ได้แสดง

               อยู่ในกราฟข้างต้น ค่าลังประมาณ 22,000 บาทต่อไร่ และค่าขนส่งสินค้าโดยเฉลี่ยจะมีค่าประมาณ 15,000 บาทต่อไร่

                                                           5-21
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139