Page 129 -
P. 129
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
NET_INC TOTAL_INC SID HAP_FINANCE
Adjusted R-squared 0.39 0.49 0.11 0.17
Prob(F-statistic) 0.00 0.00 0.00 0.00
*, **, *** หมายถึง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1, 0.05, และ 0.01 ตามลําดับ
ในด้านสังคม พบว่าการปลูกพืชยืนต้นมีอัตราการพึ่งพิง (หนี้สินต่อต้นทุน) ต่ํากว่าการปลูกเมล็ดพันธุ์
แต่สูงกว่าการปลูกพืชโรงเรือน โดยเกษตรกรมีหนี้สินต่ํากว่ากลุ่มที่ปลูกเมล็ดพันธุ์มากและสูงกว่าพืชโรงเรือน
เล็กน้อย โดยมีสัดส่วนการกู้หนี้นอกระบบน้อยกว่าพืชอื่นๆ และมีระดับความสุขสูงกว่าเกษตรกรที่ปลูกเมล็ด
พันธุ์แต่ต่ํากว่าเกษตรกรที่ปลูกพืชโรงเรือน
เกษตรกรที่ปลูกพืชโรงเรือนมีอัตราการพึ่งพิงและหนี้สินต่ําที่สุดและมีความสุขโดยรวมสูงที่สุดเมื่อ
เทียบกับทั้งการปลูกเมล็ดพันธุ์และพืชยืนต้น มีสัดส่วนหนี้ในระบบสูงกว่าการปลูกเมล็ดพันธุ์ในขณะที่สัดส่วนนี้
นอกระบบต่ํากว่า
นอกจากนี้ยังพบว่า เกษตรกรที่สัดส่วนที่ดินที่มีสิทธิ์ทํากินมากขึ้นจะมีสัดส่วนเงินกู้ในระบบที่สูงขึ้น
ความหลากหลายของการใช้ที่ดินส่งผลดีต่อความมั่นคงทางอาหาร เกษตรกรที่อยู่ในระบบตกลงราคาล่วงหน้า
หรือได้รับความช่วยเหลือด้านความรู้จะมีความสุขโดยรวมมากกว่าเกษตรกรกลุ่มอื่น
ตารางที่ 5.5 สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการเกษตรและตัวแปรทางสังคม
FORMAL_ INFORMAL_ HAP_
Dependency DEBT FOODSECUR
DEBT DEBT OVERALL
AGE 0.01 * 0.00 ***
GENERATION
EDUCATION 0.02 ***
AGRI_LABOR 0.01 * 0.12 *
AREA
HIGHLAND
LAND_RIGHT 0.24 * -0.05 *
IRRIGATION 0.14 * 7,935.07 **
YEAR -0.01 **
AREA_MAJOR
LAND_DIVERSE 0.07 ***
TREE -0.35 *** -17,304.59 *** -0.60 ** 0.78 **
GS -0.63 *** -19,763.51 *** 0.44 *** -0.55 *** 0.91 **
HIGH_END
QUANTITY_AGREE 0.25 ***
PRICE_AGREE -0.31 *** -8,591.98 ** 0.39 *
KNOWLEDGE 0.96 ***
MARKET 0.14 * 0.10 * -0.51 **
INVOLVEMENT -0.20 ***
5-16