Page 98 -
P. 98

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        70





                     กูยืมมาใชจายแตการกูยืมมาใชจายเปนการบรรเทาปญหาการขาดสภาพคลองในระยะสั้นเทานั้น
                     แตในระยะยาวหากตัวเกษตรกรเองไมปรับพฤติกรรม อาจจะสงผลใหครัวเรือนเกษตรกรมีหนี้สิน

                     เพิ่มขึ้นได


                     ตารางที่ 4.14  สาเหตุของการมีภาระหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว

                                 สาเหตุการมีหนี้สิน                   จํานวน                รอยละ

                       1. มีภาระคาใชจายเพิ่มขึ้นและรายไดไม        251                  65.40
                          เพียงพอ

                       2. มีคาใชจายฉุกเฉินเกิดขึ้นในครัวเรือน       117                  30.50
                       3. มีพฤติกรรมชอบเลนการพนัน                      0                     0

                           ติดยาเสพติด
                       4. ไมไดใชเงินกูตามวัตถุประสงค               19                   4.90

                       5. ผลผลิตไดรับความเสียหาย                       88                  22.90
                       6. ขายผลผลิตไมไดหรือไดนอยหรือราคา           133                  34.60

                          ตกต่ํา


                     หมายเหตุ: ตอบไดมากกวา 1 ขอ

                     ที่มา: จากการคํานวณ


                            การเปลี่ยนแปลงหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรพบวา ครัวเรือนเกษตรกรมีหนี้สินลดลง
                     เรื่อยๆ มากที่สุด (รอยละ 45.30) รองลงมาหนี้สินไมเปลี่ยนแปลง (รอยละ 25.80) ดังตารางที่

                     4.15
                            สาเหตุที่เกษตรกรมีหนี้สินลดลงเรื่อยๆ มากที่สุด เพราะเกษตรกรมีการปรับตัวคือการลด

                     รายจายที่ไมจําเปนลง และการหารายไดพิเศษจากการรับจางทั่วไป หรือเปนไปในลักษณะการมี
                     แบบแผนรายไดและการใชจายเงิน

                            การเปลี่ยนแปลงหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรบงบอกถึงพฤติกรรมการใชจายเงินและ
                     แบบแผนการใชจายเงิน เมื่อหนี้สินเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะลดลง หมายความวาครัวเรือน

                     เกษตรกรมีวิธีการจัดการกับหนี้สิน หากหนี้สินเปลี่ยนแปลงในทางที่เพิ่มขึ้นหมายความวาแนวโนม
                     การใชจายเงินของเกษตรกรในอนาคตอาจจะสงผลตอการมีภาระผูกพัน (หนี้) ในอนาคต
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103