Page 93 -
P. 93

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        65





                     ไป อีกทั้งปญหาจากการรวมกลุมคือเกิดความขัดแยงกัน และเมื่อหาทางออกไมไดและไมมีการ
                     ไกลเกลี่ยเกษตรกรบางรายก็ลาออกจากการเปนกลุมสมาชิก

                            การรวมกลุมทางเศรษฐกิจและการรวมกลุมทางสังคมเปนจํานวนมากที่ลมเลิกไป
                     เนื่องจากเกษตรกรขาดเปาหมายและไมมีการดําเนินกิจกรรมที่ตอเนื่อง ผลการวิเคราะหนี้สะทอน

                     ใหเห็นวาการรวมกลุมเพื่อชวยเหลือกันระหวางเกษตรกรเปนเปนสิ่งที่ดีนํามาซึ่งความเขมแข็งและ
                     การรักษาผลประโยชนในเชิงความรวมมือ หากแตการรวมกลุมควรตองดําเนินการใหเปนไปอยาง

                     ถาวรและมีจุดมุงหมายรวมกัน


                     ตารางที่ 4.10 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว

                                                                    จํานวน                  รอยละ

                     1. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ
                         ไมมีหรือไมไดเปน                          63                    16.40

                         มีหรือไดเปน                                37                     9.60
                        เคยรวมกลุมแตไดเลิกไปแลว                  284                    73.96

                     2. การรวมกลุมทางสังคม

                        ไมมีหรือไมไดเปน                           13                     3.40
                        มีหรือไดเปน                                 79                    20.60
                        เคยรวมกลุมแตไดเลิกไปแลว                  292                    76.04



                     หมายเหตุ: ระยะเวลาการเปนสมาชิกเฉลี่ย 0-1 ป
                     ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ


                            เกษตรกรมีทรัพยสินในครัวเรือนที่เปนอุปกรณทางการเกษตรเมื่อเรียงตามลําดับจากมาก

                     ไปหานอย 3 ลําดับแรกพบวา ลําดับที่ 1 รถไถขนาดเล็ก (รอยละ 62.00)  ลําดับที่ 2 เครื่องสูบน้ํา

                     (รอยละ 35.40) และลําดับที่ 3 เครื่องตัดหญา (รอยละ 27.90) สวนที่เปนทรัพยสินอื่นในครัวเรือน
                     เรียงตามลําดับจากมากไปหานอย 3 ลําดับแรกพบวา ลําดับที่ 1 รถมอเตอรไชด (รอยละ 129.95 )
                     ลําดับที่ 2 โทรทัศน (รอยละ 99.00 ) และลําดับที่ 3 ตูเย็น (รอยละ 96.90 ) ในสวนของสินทรัพยที่

                     เปนที่ดินเรียงตามลําดับจากมากไปหานอย 3  ลําดับแรกพบวาลําดับที่ 1  ที่ดินเกษตร (รอยละ

                     94.30 )  ลําดับที่ 2 ที่อยูอาศัย (รอยละ 93.50 ) และลําดับที่ 3 ที่วางเปลา (รอยละ 6.00) ดังตาราง
                     ที่ 4.11
                                ขอมูลนี้แสดงใหเห็นความแตกตางในการถือครองทรัพยสินตามศักยภาพและ

                     ความสามารถในการหารายไดของเกษตรกรแตละครัวเรือนเนื่องจากเกษตรกรสวนใหญเปน

                     เกษตรกรรายยอยจึงมีความสามารถในการซื้อเครื่องจักรขนาดเล็กที่เปนรถไถนาขนาดเล็กไดมาก
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98