Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        64





                            การไดรับการฝกอบรมของเกษตรกรผูปลูกขาวพบวา เกษตรกรไดรับการอบรมดานการ
                     ผลิตพืชปศุสัตวและประมงมากที่สุด (รอยละ 8.90 ) รองลงมาคือการแปรรูปผลผลิตทาง

                     การเกษตร (รอยละ 5.70) จํานวนครั้งของการอบรมเฉลี่ย 1 ครั้งตอป ดังตารางที่ 4.9
                            การฝกอบรมของเกษตรกรที่เกี่ยวของกับอาชีพที่เปนแหลงรายไดของครัวเรือน นอยมาก

                     เนื่องจากเกษตรกรเองไมไดใหความสนใจในการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรูในการผลิตทั้งที่การผลิต
                     เปนแหลงรายไดที่สําคัญ หากเปนเชนนี้ยอมสงผลตอวิถีผลิตและการดํารงชีวิตของเกษตรกรใน

                     อนาคต การฝกอบรมในการประกอบอาชีพในการทําเกษตร เพื่อใหเกิดทักษะในการทํางาน เปน
                     การยกระดับความสามารถใหกับเกษตรกรไดหากทําไดตอเนื่องสม่ําเสมอเพราะการฝกอบรมจะ

                     ชวยใหเกษตรกรมีขีดความสามารถในการผลิต การประกอบอาชีพหลักและรองที่เกี่ยวของ เพื่อ
                     นําไปสูการดํารงชีวิตอยางมีแบบแผน


                     ตารางที่ 4.9 การอบรมดานการเกษตรของเกษตรกรผูปลูกขาว


                                 หลักสูตรอบรม                       จํานวน                  รอยละ
                       1. การผลิตพืชปศุสัตวและประมง                  34                     8.90

                       2. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร                  22                     5.70
                       3. การตลาดผลผลิตทางการเกษตร                    18                     4.70

                       4. อื่นๆ (การเพาะเห็ด)                         6                      1.60


                     หมายเหตุ: 1 จํานวนครั้งการอบรมเฉลี่ย 0-1 ครั้งตอป

                                     2 ตอบไดมากกวา 1 ขอ
                     ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ



                            การรวมกลุมของเกษตรกรมีการติดตอสัมพันธกันตามสถานภาพและบทบาท มีความรูสึก

                     เปนพวกเดียวกัน     มีความเชื่อในดานคุณคาจากการรวมกันทํารวมกันคิด การรวมกลุมทาง
                     เศรษฐกิจเปนการรวมตัวกันของเกษตรกรผูปลูกขาวในการรักษาผลประโยชนดานเศรษฐกิจ ใน

                     งานวิจัยนี้พบในรูปแบบกลุมออมทรัพย สหกรณหมูบาน และกองทุนหมูบาน สวนการรวมกลุม
                     ทางสังคมเปนการรวมตัวกันของเกษตรกรที่มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือกันในเชิงความสัมพันธ

                     อันดีตอกันระหวางครัวเรือนพบในรูปแบบกลุมฌาปนกิจ และกลุมผูสูงอายุ จากขอมูลพบวา
                     เกษตรกรไมมีการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ (รอยละ 16.40) และมีการรวมกลุมเพียง (รอยละ 9.60)

                     การรวมกลุมทางสังคมเกษตรกรไดมีการรวมกลุมทางสังคมเพียง (รอยละ 20.60) อีก (รอยละ
                     3.40) ไมมีการรวมกลุมทางสังคม ดังตารางที่ 4.10  ผลการสัมภาษณเกษตรกร 12 รายเพิ่มเติม

                     พบวา การรวมกลุมเพื่อชวยเหลือกันเปนสิ่งที่ดีเพราะไดแลกเปลี่ยนและชวยเหลือกันหาทางออก
                     แตที่ผานมา การรวมกลุมเปนไปอยางไมตอเนื่อง เพราะไมมีผูนําในการรวมกลุมทําใหตองลมเลิก
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97