Page 97 -
P. 97

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        69





                     ตารางที่ 4.13 แหลงที่มาของหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว (ตอ)

                                             รายการ                                   เฉลี่ยตอครัวเรือน

                                                                                          (บาท)
                     3. หนี้สินนอกระบบ

                        นายทุนเงินกู                                                    38,375.00
                        ญาติเพื่อนบาน                                                   34,456.52

                        อื่นๆ                                                                -

                     4. อัตราดอกเบี้ยเงินกูนอกระบบ                                    2.87 ตอเดือน
                     5. ระยะเวลาการเปนหนี้สิน 6                                           1-2 ป


                     หมายเหตุ: ขอมูลหนี้สินที่ใชในงานวิจัยนี้เปน flow

                     ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ


                            สาเหตุของการเกิดภาระหนี้สิน เรียงตามลําดับจากมากไปหานอย 3 ลําดับแรกพบวา

                     ลําดับที่ 1 มีภาระคาใชจายเพิ่มขึ้นและรายไดไมเพียงพอ (รอยละ 65.40 )  ลําดับที่ 2 ขายผลผลิต
                     ไมได หรือไดนอยหรือราคาตกต่ํา (รอยละ 34.60) และลําดับที่ 3 มีคาใชจายฉุกเฉินเกิดขึ้นใน

                     ครัวเรือนเชน อุบัติเหตุหรือการเจ็บปวยของสมาชิกในครัวเรือน (รอยละ 34.60 ) ขอมูลการ
                     สัมภาษณเกษตรกร 12  ราย พบวาหนี้สินที่เกิดขึ้นเปนหนี้สินที่เกี่ยวกับการกูยืมมาเพื่อลงทุนใน

                     การปลูกขาว และการใชจายในครัวเรือน โดยหนี้สินที่เกิดขึ้นในครัวเรือนสวนใหญเปนหนี้ที่ไมได
                     วางแผนและไมรูวาจะวางแผนอยางไร เพราะบางครั้งเกิดขึ้นอยางฉุกเฉิน  ดังนั้นเมื่อหนี้สินเกิดขึ้น

                     แลว เงินที่จะนํามาใชหนี้คืนมาจากการขายขาวในฤดูกาลเก็บเกี่ยว เงินที่บุตรหลานที่ไปรับจาง
                     หรือทํางานตางถิ่นสงมาให เงินชวยเหลือจากรัฐบาล และเงินจากการเสี่ยงโชค เชนซื้อหวย พนัน

                     เสี่ยงโชคในงานบุญและประเพณีตางๆ ดังตารางที่ 4.14
                            การที่เกษตรกรมีภาระคาใชจายเพิ่มขึ้นและรายไดไมเพียงพอ เปนสาเหตุของการเกิด

                     ภาระหนี้สินมากที่สุดนั้น สวนหนึ่งเปนผลจากเกษตรกรมีพฤติกรรมเลนการพนัน เสี่ยงโชค ซึ่ง
                     ไมไดปรากฏในตารางชัดเจน ในความเปนจริงคาใชจายสวนนี้เปนคาใชจายที่ไปแฝงอยูกับ

                     คาใชจายฉุกเฉิน เปนสาเหตุใหเกิดการมีภาระคาใชจายที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง  การมีภาระหนี้สินของ
                     ครัวเรือนเกษตรกรเปนผลจากการวางแผนการใชจายเงินไมเหมาะสมกับรายรับและรายจาย ซึ่งมา

                     จากพฤติกรรมของตัวเกษตรกรเองโดยเฉพาะพฤติกรรมการเลนพนันเพื่อหวังโชคลาภ ดังนั้นเมื่อ
                     เกษตรกรมีรายรับนอยกวารายจาย ตองแกปญหาในการนําเงินมาใชจายใหเพียงพอ ซึ่งสวนใหญ



                     6
                       หนี้สินของเกษตรกรอยูระยะสั้นถึงยาวมีระยะเวลาอยูระหวาง 1-2 ป แบงตามระยะเวลาทางการบัญชี หนี้สินระยะสั้นเปน
                     หนี้สินที่กําหนดชําระภายใน 1 ป หนี้สินระยะยาวเปนหนี้สินที่กําหนดชําระมากกวา 1 ปขึ้นไป
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102