Page 100 -
P. 100
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
72
ตารางที่ 4.16 วัตถุประสงคในการกูเงินของเกษตรกรผูปลูกขาว (ตอ)
รายการ จํานวน รอยละ
7. ไมไดใชเงินกูไปตามวัตถุประสงคการกูทั้งหมด 64 16.70
8. ใชเงินกูไปตามวัตถุประสงคการกูบางสวน 117 30.50
9. ใชเงินกูไปตามวัตถุประสงคการกูทั้งหมด 109 28.40
ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ
จากการวิเคราะหพบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมมีเงินออม (รอยละ 47.40) มี
ระยะเวลาการออมไมแนนอน (รอยละ 28.90 ) รูปแบบในการออมคือฝากธนาคาร (รอยละ 22.90)
ธนาคารที่เกษตรกรนําไปฝากมากที่สุดคือธนาคารเกษตรและสหกรณการเกษตร รองลงมาเงิน
ฝากกลุมออมทรัพย (รอยละ 21.60) ดังตารางที่ 4.17 ขอมูลการสัมภาษณเกษตรกร 12 ราย
พบวาการที่ไมมีเงินออมสวนหนึ่งเปนผลจากการตองนําเงินไปใชในการทําการเกษตร และชําระ
หนี้สินที่เกิดขึ้นทั้งในการผลิตและการบริโภคในครัวเรือน สงผลตอความสามารถในการออมที่
ลดลง
ความสามารถในการออมของครัวเรือนเกษตรกรเปนผลตอเนื่องจากการมีพฤติกรรมใช
จายเงินที่พอเพียงและเหลือเก็บออม บงบอกถึงความสามารถในการจัดการรายไดที่หามาไดให
มากกวารายจายและการจัดการรายจายใหนอยกวารายได สวนที่เหลือคือเงินออม อยางไรก็ตาม
การที่เกษตรกรไมมีเงินออม สวนหนึ่งมาจากเกษตรกรมีรายไดไมตอเนื่อง และมีขอจํากัดในการ
หางานทํานอกภาคการเกษตรเพื่อเพิ่มรายได
ขอจํากัดของขอมูลเรื่องการออมและการเปนหนี้สินเปนตัวเลขของเกษตรกรที่จัดเก็บเพียง
ปปลูกขาว 2555/2556 เทานั้น ซึ่งเกษตรกรบางรายมีเงินออมตอเนื่องมากอนปปลูกขาวที่
ทําการศึกษา
ตารางที่ 4.17 ความสามารถในการออมของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว
รายการ จํานวน รอยละ
การออม
1. ไมมีเงินออม 182 47.40
2. มีเงินออม 175 45.60
ระยะเวลาในการออม
1. มีระยะเวลาการออมไมแนนอน 111 28.90
2. มีระยะเวลาการออมแนนอน 72 18.80