Page 105 -
P. 105

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        77





                     ตารางที่  4.20  ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการปรับตัวของเกษตรกร


                      ปจจัย                        คาสัมประสิทธิ์การ          t              Sig.

                                                      ถดถอย ()
                     เพศ                                0.240                3.009             0.003**

                     อายุ                               0.024                0.295              0.768

                     จํานวนสมาชิกในครัวเรือน           - 0.074              - 0.901             0.369
                     ระดับการศึกษาของหัวหนา           - 0.012              - 0.147             0.883

                     ครัวเรือน
                     การรวมกลุมหรือเปนสมาชิก          0.396                3.295             0.001**

                     ของกลุมทางเศรษฐกิจ
                     การรวมกลุมหรือเปนสมาชิก         - 0.092              - 0.793             0.429

                     ของกลุมทางสังคม
                     รายได                             0.082                0.976              0.331

                     การออมของครัวเรือน                 0.295                3.587             0.000**

                     หนี้สิน                           - 0.072              - 0.147             0.393

                     ที่มา: จากการคํานวณ

                     ** ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01


                     4.5 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว
                            การมีแบบแผนการใชจายพิจารณาจากสัดสวนการใชจายของครัวเรือนตอรายไดรวมของ

                     ครัวเรือนเกษตรกร ซึ่งมีคามากกวา 0 โดยคาสัดสวนดังกลาวจะมีคาต่ําสุดเทากับ 0 ซึ่ง
                     หมายความวา ครัวเรือนไมมีการใชจายใดๆ เลย แบบจําลองที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ

                     แบบจําลองโทบิท (Tobit) ในงานวิจัยนี้ไดแบงสมการออกเปน 3 สมการหรือแบบจําลอง 3 แบบ
                     ในแตละสมการจึงมีตัวแปร income  saving  และ debt  ไวดวยกันอาจกอใหเกิดปญหา

                     multicollinearity ในทาง econometric ดังนั้นผูวิจัยไดทดสอบคาสหสัมพันธระหวางตัวแปร พบวา
                     ไมมีปญหา multicollinearity  ระหวางตัวแปร income  saving  และ debt  โดยคา correlation

                     ระหวางตัวแปร 3 ตัวแปรที่กลาวถึงไมเกิน 0.5 ซึ่งถือวาใชได ผลการทดสอบสหสัมพันธระหวาง
                     ตัวแปร ดังภาคผนวก ก  หนา 100 สมการ 3 สมการจึงมีรายละเอียดและผลการศึกษาแตกตางกัน

                     ดังนี้
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110