Page 101 -
P. 101
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
73
ตารางที่ 4.17 ความสามารถในการออมของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว (ตอ)
รูปแบบในการออม
1. ออมในรูปแบบเงินฝากธนาคาร 88 22.90
2. ออมในรูปแบบเงินฝากสหกรณ 5 1.30
3. ออมในรูปแบบเงินฝากกลุมออมทรัพย 83 21.60
4. ออมในรูปแบบซื้อที่ดิน 7 1.80
5. ออมในรูปแบบอื่นๆ 7 1.80
7
หมายเหตุ: ปริมาณเงินออมเฉลี่ย 38,785.25 บาทตอครัวเรือน
ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ
การปรับตัวเปนวิธีการดํารงชีวิตเพื่อใหตนเองและครอบครัวอยูไดในสถานการณที่
แตกตางหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ซึ่งอาจจะมาจากปจจัยภายในและภายนอก ดังนั้น
แนวทางหรือวิธีการที่ใชในการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อ
สรางสมดุลในการดํารงชีพที่นอกเหนือจากการปลูกขาวที่เปนพืชเศรษฐกิจหลักมีวิธีการปรับตัว
สูงสุดเพียงระดับปานกลางเทานั้นโดยมีแนวทางเรียงตามความสําคัญคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหา
นอยสามลําดับแรก ดังนี้ ลําดับที่1 การทําไรนาสวนผสม (X= 3.11 ) ลําดับที่ 2 การปลูกพืช
เศรษฐกิจ (X = 3.11) และลําดับที่ 3 การเพิ่มมูลคาผลผลิต (X= 2.81) ดังตารางที่ 4.18
แนวทางนี้เปนแนวทางในการเพิ่มรายได หากการเพิ่มรายไดเปนไปอยางตอเนื่องจะสงผล
ตอเงินออมของเกษตรกรที่เพิ่มมากขึ้นเปนลําดับ ซึ่งจากขอมูลที่พบเกษตรกรผูปลูกขาวมีระดับ
การปรับตัวเพียงระดับปานกลางและระดับนอยเทานั้นไมพบระดับการปรับตัวที่มาก และมากที่สุด
ทั้งนี้ผลจากการสัมภาษณเพิ่มเติมกลุมเกษตรกร 12 รายไดใหเหตุผลวาเกษตรกรเองมีขอจํากัดใน
ดานการศึกษามีความรูเพียงระดับประถมศึกษาจึงขาดการวางแผน และการหาวิธีการที่ดีในการ
ปรับตัว อีกทั้งครัวเรือนสวนใหญมีแนวความคิดวา รัฐบาลจะคอยชวยเหลือพวกตนจากโครงการ
ตางๆ ทําใหเขารวมโครงการของรัฐแทบจะทุกโครงการ
ซึ่งจากแนวทางในการปรับตัวของเกษตรกรผูปลูกขาวที่พบดูเหมือนไมมีแนวทางอะไร
ใหมๆ เปนแนวทางที่เปนทางออกของชาวชนบทที่พบเห็นไดโดยทั่วไปนั้น แตการที่เกษตรกรมี
ความคาดหวังวาจะไดรับการชวยเหลือจากรัฐบาล เปนเหตุใดใหเกษตรกรมีระดับการปรับตัวไม
มาก สิ่งเหลานี้ยอมจะสงผลตอพฤติกรรมที่ไมรูจักขนขวยหาวิธีการในการพึ่งพาตนเองทั้งใน
ปจจุบันและอนาคตซึ่งจะเปนปญหาตอไปในระยะยาว
7
ผลรวมของขอมูล (เงินออม) ของครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมดหารดวยจํานวนขอมูล (จํานวนของครัวเรือนเกษตรกร)