Page 103 -
P. 103

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        75





                     ตารางที่ 4.19  วิธีการปรับตัวของเกษตรกรผูปลูกขาวในการลดรายจาย

                                  วิธีการปรับตัว                   X             S.D.         ความสําคัญ

                        1. การตัดรายจายที่ไมจําเปนออก          3.27           1.05          ปานกลาง
                        2. การลดรายจายที่จําเปนลง สรางนิสัย    3.37           0.98          ปานกลาง

                           การประหยัด
                        3. การหารายไดนอกภาคการเกษตร              3.35           1.00          ปานกลาง

                        4. ปลูกพืชผักไวรับประทานเอง              3.37           1.04          ปานกลาง

                        5. หาอาหารตามแหลงอาหารธรรมชาติ           3.42           1.05          ปานกลาง
                        6. เนนใชแรงงานในครัวเรือนเพื่อลด        3.49           1.15          ปานกลาง

                            การจางแรงงาน
                        7. ผลิตปุยเพื่อใชในการเกษตรเอง          1.77           0.97            นอย



                     ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ
                     หมายเหตุ: คาเฉลี่ย 4.51-5.00 = มากที่สุด 3.51-4.50 = มาก 2.51-3.50 = ปานกลาง

                     1.51-2.50 = นอย  และ 1.00-1.50 = นอยที่สุด


                     4.4 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว
                                 การวิเคราะหหาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว ดวย

                     วิธีการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)  โดยการหาคาสัมประสิทธิ์

                     สหสัมพันธระหวางตัวแปรตาม (การปรับตัวของเกษตรกร) กับตัวแปรอิสระ (ปจจัย) แตละตัว โดย
                     คํานึงถึงระดับนัยสําคัญทางสถิติ และสมมติฐานที่ตั้งไว ที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 99  โดยมี

                     สมมติฐานทางสิติที่ตั้งไวคือ  H     0   ปจจัยตางๆ ของเกษตรกรไมมีอิทธิพลตอการปรับตัวของ
                     เกษตรกร     H 1    ปจจัยตางๆ ของเกษตรกรมีอิทธิพลตอการปรับตัวของเกษตรกร    เมื่อ

                     พิจารณาตัวแปรตาม (การปรับตัวของเกษตรกร) กับตัวแปรอิสระ (ปจจัย) แตละตัวผลการทดสอบ
                     พบวามี 3 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอตัวแปรตาม (การปรับตัวของเกษตรกร) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่
                     ระดับ 0.01 ในทิศทางเปนบวก (พิจารณาจากคาสัมประสิทธิ์เครื่องหมายเปนบวก) ไดแก เพศ การ

                     รวมกลุมหรือเปนสมาชิกของกลุมทางเศรษฐกิจ  และการออมของครัวเรือน  สวนปจจัยอื่นๆ ไมมี

                     อิทธิพลตอการปรับตัวของเกษตรกร ดังตารางที่ 4.20
                            เพศ  การรวมกลุมหรือเปนสมาชิกของกลุมทางเศรษฐกิจ และการออมของครัวเรือน เปน
                     ปจจัยที่มีอิทธิพลทางบวกตอเกษตรกรในการปรับตัวในการดํารงชีพ เมื่อพิจารณาปจจัยดานเพศ

                     ความเปนเพศหญิงและเพศชายมีความแตกตางกันในลักษณะนิสัย ความรอบคอบ ความ

                     ละเอียดออน ในการวางแผนทางการเงิน เพราะเพศหญิงที่อยูตามชนบทจะไมชอบเขาสังคมใน
                     ขณะที่เพศชายชอบเขาสังคมและชอบรวมงานบุญประเพณีและวัฒนธรรมเกิดการสังสรรคในกลุม
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108