Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        74





                     ตารางที่ 4.18 วิธีการปรับตัวของเกษตรกรผูปลูกขาวในการเพิ่มรายได

                                  วิธีการปรับตัว                  X              S.D.         ความสําคัญ

                        1. การทําไรนาสวนผสม                     3.11            1.24          ปานกลาง

                        2. การเลี้ยงสัตวเสริม                   2.66            1.18          ปานกลาง
                        3. การปลูกพืชเศรษฐกิจ                    3.11            1.23          ปานกลาง

                        4. การเพิ่มมูลคาผลผลิต                  2.81            1.06          ปานกลาง
                        5. ขายพืชหรือสัตวที่หาไดจากธรรมชาติ    2.50            1.11            นอย

                        6. เงินที่ลูกหลานสงมาให                2.36            1.27            นอย
                        7. เบี้ยยังชีพผูสูงอายุ/เงินที่รัฐชวยเหลือ   2.36      1.29            นอย



                     ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ
                     หมายเหตุ: คาเฉลี่ย 4.51-5.00 = มากที่สุด 3.51-4.50 = มาก 2.51-3.50 = ปานกลาง

                     1.51-2.50 = นอย  และ 1.00-1.50 = นอยที่สุด


                            ในการแสวงหารายไดเพื่อการดํารงชีพแนวทางหรือวิธีการที่ใชในการปรับตัวของครัวเรือน
                     เกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อสรางสมดุลในการดํารงชีพที่นอกเหนือจากการปลูก

                     ขาวที่เปนพืชเศรษฐกิจหลักมีความสําคัญสูงสุดอยูในระดับปานกลาง โดยมีแนวทางเรียงตาม
                     ความสําคัญในการปฏิบัติจากคาเฉลี่ยมากไปหาคาเฉลี่ยนอยสามลําดับ ดังนี้ลําดับที่ 1 เนนใช

                     แรงงานในครัวเรือนเพื่อลดการจางแรงงาน ( X  = 3.49)  ลําดับที่ 2 หาอาหารตามแหลงอาหาร
                     ธรรมชาติ (X =  3.42 )  และลําดับที่ 3 การลดรายจายที่จําเปนลงสรางนิสัยการประหยัดและปลูก

                     พืชผักไวรับประทานเอง ( X = 3.37)  อีกทั้งผลการสัมภาษณเพิ่มเติมจากเกษตรกร 12 รายให
                     ขอคิดเห็นเพิ่มเติมวาแนวทางนี้เปนแนวทางที่เนนการลดรายจาย ซึ่งหากสามารถดําเนินการได

                     อยางตอเนื่อง จะชวยในการลดภาระหนี้ไดเร็วขึ้นดวยหรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา  “การลดการใช

                     จายเปนวิธีการที่เห็นผลเร็วที่สุดในการลดภาระหนี้” ดังตารางที่ 4.19
                            สาเหตุที่เกษตรกรผลิตปุยเพื่อใชในการเกษตรเองเปนวิธีการปรับตัวที่ใหความสําคัญนอย

                     ทั้งๆ ที่สวนนี้จะทําใหตนทุนลดลงในวิถีการผลิต สงผลดีตอแบบแผนการใชจายที่ลดลงได
                     เนื่องจากเกษตรกรใหความสําคัญกับปุยเคมี ที่หาซื้อไดงายตามทองตลาดในระบบเงินเชื่อ
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107