Page 99 -
P. 99
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
71
ตารางที่ 4.15 การเปลี่ยนแปลงของหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว
จํานวน รอยละ
1. ลดลงเรื่อยๆ 174 45.30
2. ไมเปลี่ยนแปลง 99 25.80
3. เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 42 10.90
4. ไมไดจัดเก็บขอมูล/ไมไดเปนหนี้ 69 17.97
รวม 384 100
ที่มา: จากการสํารวจและคํานวณ
เกษตรกรผูปลูกขาวมีพฤติกรรมในการนําเงินกูไปใชจายในวัตถุประสงคตางๆ เรียง
ตามลําดับจากมากไปหานอยดังนี้ 1 เพื่อทําการเกษตร (รอยละ 65.10) ลําดับที่ 2 เพื่อชําระ
หนี้สิน (รอยละ 57.30) และลําดับที่ 3 เพื่อใชจายในครัวเรือน (รอยละ 57.30 ) สวนพฤติกรรมการ
ใชเงินกูพบวามีพฤติกรรมในการใชเงินกูเปนไปตามวัตถุประสงคการกูบางสวน (รอยละ 30.50)
รองลงมามีพฤติกรรมการใชเงินกูเปนไปตามวัตถุประสงคการกูทั้งหมด (รอยละ 28.40) จากขอมูล
ดังกลาวสะทอนใหเห็นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับวินัยทางการเงินของครัวเรือนเกษตรกรที่มีแตกตางกัน
เพราะ (รอยละ 16.70) ของเกษตรกรมีพฤติกรรมที่ไมไดใชจายเงินใหเปนไปตามวัตถุประสงคการ
กูทั้งหมด ดังตารางที่ 4.16
สะทอนใหเห็นวาพฤติกรรมการใชจายของเกษตรกรเองเปนตัวกําหนดใหเกิดสิ่งผูกพัน
ตามมาเชน การพึ่งระบบเครดิตในลักษณะนํามาใชกอนแลวคอยชําระคืนภายหลัง อันนี้ถึงแม
เกษตรกรจะรูวามีดอกเบี้ยเกิดขึ้นก็ยังยอมรับได สูญเสียวินัยทางการเงินยอมสงผลใหมีหนี้สิน
ผูกพันทั้งจํานวนหนี้สินและดอกเบี้ยที่ตองรับในอนาคต ความสามารถในการออมนอย ความมั่นคง
ในอนาคตลดลง เปนเหตุใหพึ่งพาโครงการของรัฐทุกประเภท พฤติกรรมดังกลาวของเกษตรกร
ยอมนําไปสูแบบแผนรายไดและการใชจายที่ไมสอดคลองกับแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงที่ไมเนนใหเกิดการกูยืมในลักษณะที่ไมกอใหเกิดรายได
ตารางที่ 4.16 วัตถุประสงคในการกูเงินและการใชเงินกูของเกษตรกรผูปลูกขาว
รายการ จํานวน รอยละ
1. สรางบาน 29 7.60
2. คาขาย 31 8.10
3. ทําการเกษตร 250 65.10
4. ชําระหนี้สิน 220 57.30
5. ใชจายในครัวเรือน 220 57.30
6. คาเลาเรียนบุตร 112 29.20