Page 16 -
P. 16

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        14




                  และพัฒนาในการทําการผลิต การจัดทําคลินิกชาวนา โดยใหเกษตรอําเภอ เกษตรจังหวัดใหมีบทบาท
                  ในสวนนี้มากยิ่งขึ้นในการชวยเหลือเกษตรกรก็จะเปนอีกหนทางหนึ่งในการเพิ่มพูนทักษะทางดาน

                  การผลิตและความรูดานการผลิต รวมทั้งเทคโนโลยีที่ถูกหลักวิชาการเหมาะสมในการผลิตในแตละ
                  พื้นที่และพื้นฐานความรูของเกษตรกร

                          4.3.4 ทรัพยากรทางการเงินถึงแมจะเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิต แตหากรูจักบริหาร
                  จัดการรายจายใหพอกับรายได เกษตรกรก็ยังคงมีทางเลือกในการไมเปนหนี้ได เพราะปญหาหนี้ของ

                  เกษตรกรมาจากการมีรายไดนอยหรือการไมมีเงิน จําเปนตองกูยืมซึ่งสงผลผูกพันตออนาคตเพราะ
                  ตองสงทั้งเงินตนและดอกเบี้ย นอกจากนี้หนี้สินที่พบสวนใหญเปนหนี้เพื่อการใชจายในชีวิตประจําวัน

                  โดยนําเงินในอนาคตมาใชจายลวงหนา หากพิจารณาจากปญหายอย การที่เกษตรกรมีรายไดนอย มี
                  รายจายมากกวารายได นั้นสาเหตุจากการขาดทุนทางปญญาที่จะนําไปใชในการประกอบอาชีพ และ

                  สาเหตุของการขาดทุนทางปญญาคือการขาดโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู ซึ่งเปนวัฏจักรที่
                  หมุนวนไมรูจบสิ้น การตัดวงจรนี้ ตองมาจากนโยบายของรัฐที่จะจัดการแกปญหาหนี้สินตองแกปญหา

                  ในระยะยาว  จึงจะหลุดวงโคจรหนี้  มีระบบการติดตามตรวจสอบใหคําแนะนําในการปลดหนี้ เชนจัด
                  โครงการคนหาเกษตรกรที่มีแนวทางในการลดหนี้เพื่อเปนตัวอยางที่ดีหรือ (best  practices)  ในการ

                  บริหารจัดการหนี้ ใหกับเกษตรกรรายอื่นๆ
                         การเสริมสรางยุทธวิธีในการปรับตัวเพื่อการอยูรอดจากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของ โดย

                  การสรางงาน สรางอาชีพ กิจกรรม หรือสรางรูปแบบวิธีการตาง ๆ อันหลากหลายโดยอาศัยทรัพยสิน
                  หรือทุนที่มีอยูนั้น มาสนับสนุนในการประกอบอาชีพ ซึ่งยุทธศาสตรการดํารงชีพของครัวเรือน

                  เกษตรกรหรือชุมชนนี้ จะกอใหเกิดผลลัพธในการดํารงชีพตาง ๆ ตามมา คือ การมีรายไดเพิ่มขึ้น
                  การมีความเปนอยูที่ดีขึ้น การลดความออนแอลง การเพิ่มความมั่นคงดานอาหาร และการเกิดความ

                  ยั่งยืนในการใชทรัพยากรธรรมชาติ อันกอใหเกิดความอยูรอดและความยั่งยืนของเกษตรกรผูปลูกขาว
                  ที่ผานมาพบแลววาการใหเงินกูลวงหนาแกเกษตรกรมาทําการเกษตรนั้น ยังไมสามารถแกไขปญหา

                  ไดตรงจุด เกษตรกรตองปรับตัวเองใหมากโดยเฉพาะการปรับพฤติกรรมการใชเงินเปนตัวตั้งในระบบ
                  การผลิตและการบริโภค แตควรใชเงินเปนเครื่องมือเพื่อใหการผลิตและการบริโภคอยูในระดับที่พอดี

                  ไมเกิดความกดดันกับตนเองและคนรอบขาง
                              การพัฒนาครัวเรือนแรงงานในภาคการเกษตรที่อยูในพื้นที่เศรษฐกิจหลักการปลูกขาว การ

                  พัฒนาแรงงานที่อยูในภาคการผลิตโดยเฉพาะการเกษตรกรรมที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม หาก
                  สงเสริมใหเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองโดยใชทุนที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด ก็จะ

                  แขงขันไดภายใตความเสี่ยงในวิถีชีวิตและวิถีการผลิตที่ลดลง  แตการพึ่งพาตนเองไดของเกษตรกร
                  ภายใตการมีทรัพยากรจํากัด มีปจจัยหลายอยางเขามาเกี่ยวของเชน ความสามารถในการหารายได

                  อยางไรก็ตามถึงแมระบบการสนับสนุนจากรัฐจะดีเพียงไร หากเกษตรกรมีนิสัยหรือพฤติกรรม
                  ทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม หรือแมแตบุคลิกภาพ ที่อยูในตัวเกษตรกรเองก็อาจจะเปนเงื่อนไขที่เปน

                  ขอจํากัดในการปรับตัวเพราะสภาพแวดลอมที่อยูภายในและรอบ ๆ เกษตรกรเองจําเปนตองดูแล
                  ตนเอง ความสําเร็จหรือความลมเหลวในการปรับตัวมาจากพฤติกรรมของเกษตรกรเปนสําคัญ  ถึงแม
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21