Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        13




                         สภาพสังคมของเกษตรกรที่ไดขึ้นชื่อวาเปนกระดูกสันหลังของชาติ แตเต็มไปดวยปจจัยเสี่ยง
                  ตางๆ ทั้งทางเศรษฐกิจคือกระแสทุนนิยม การบริโภคจนเกินตัว การมีอุปกรณเครื่องใชที่ทันสมัยแต

                  ไมจําเปน และทางธรรมชาติคือความเสี่ยงในการผลิต ขาดปจจัยการผลิต กระดูกสันหลังของชาติก็
                  ยอมจะผุพังไดหากไมมีภูมิตานทานที่เพียงพอตอสิ่งตางๆ ที่เขามากระทบทั้งทางตรงและทางออม

                  ปญหาที่ทาทายคือจากผลการวิจัยที่ไดจะทําใหเกิดแนวทางใดที่ครัวเรือนเกษตรกรจะมีการปรับตัวตอ
                  การเปลี่ยนแปลงภายใต ปจจัยเหลานี้ ที่เปนเงื่อนไขสําคัญที่มีอิทธิพลตอการดํารงชีพที่เขามา

                  เกี่ยวของโดยที่เกษตรกรไมสามารถหลีกเลี่ยงได ทําใหรูปแบบการดํารงชีวิตของเกษตรกรตองตอสู
                  ดิ้นรนอยูภายใตสภาวการณและแนวโนมที่ไมมีวันจะลดลง สิ่งตางๆ เหลานี้ตองอาศัยการปรับตัวของ

                  เกษตรกรเอง นํามาใชเปนยุทธวิธีในการทํากิจกรรมและดําเนินชีวิตภายใตปจจัยเสี่ยงที่เกษตรกรมีอยู
                  และการเรียนรูจากประสบการณตรงและประสบการณของคนอื่นในการหาแนวทางที่ดีที่สุดใหตนเอง

                  แตเกษตรกรฝายเดียวยอมไมสามารถดําเนินการตามลําพังไดดวยขอจํากัดที่มีอยูมากมาย
                  จําเปนตองอาศัยภาคสวนอื่นๆ โดยเฉพาะระบบการสนับสนุนจากรัฐ โดยระบบสนับสนุนจากรัฐควร

                  เปนไปดังนี้
                               4.3.1 ภายใตเงื่อนไขจํากัดของเกษตรกรคือไดรับการศึกษาเพียงขั้นพื้นฐาน เนื่องจากสวน

                  ใหญจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา เกิดขอจํากัดในการประกอบอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได ใน
                  สภาพเศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน และเกิดขอจํากัดในการตอยอดที่จะเรียนรูและพัฒนาตนเอง

                  ตอเนื่องตลอดชีวิตนั้น จะพัฒนาเกษตรกรตอในรูปแบบการศึกษาตลอดชีวิตของเกษตรกรควรจะเปน
                  อยางไร รัฐบาลจะเอื้ออยางไร เพื่อสงผลใหเกษตรกรมีการปรับตัวและอยูรอดอยางมั่นคง สงผลตอ

                  การเพิ่มผลิตภาพแรงงานในภาคการเกษตร หนาที่ในการเตรียมศักยภาพของเกษตรกรใหมีทางเลือก
                  มากขึ้น เพราะหากเกษตรกรประกอบอาชีพเดียวตลอดชีวิตยอมมีปญหาทางดานเศรษฐกิจในระยะ

                  ยาวเชน การกําหนดหลักสูตรการฝกอบรมที่เขากับชวงชีวิต สถานการณการผลิต การดําเนินชีวิตของ
                  เกษตรกรอยางตอเนื่องในลักษณะศูนยการเรียนรูของเกษตรกร โดยอาศัยบุคลากรภาครัฐ

                  นักวิชาการเกษตร อาจารยในมหาวิทยาลัยที่ประจําในจังหวัด และตัวอยางเกษตรกรที่มีแนวปฏิบัติที่
                  ดี

                               4.3.2  ใหเกษตรกรมีการเรียนรู จากแหลงเรียนรูที่เขาถึงไดงายที่สุดในการบริหารจัดการ
                  รายรับรายจายโดยเฉพาะการจัดทําบัญชีครัวเรือนอยางงายยังคงมีความจําเปนอยางมาก  เพื่อใหเกิด

                  การเรียนรู การรูจักวางแผนในการใชจายใน 2 หมวดที่สําคัญคือ รายจายในภาคการเกษตร กับ
                  รายจายนอกภาคการเกษตร ซึ่งเปนหัวใจสําคัญในการตั้งรับสถานการณทางเศรษฐกิจใหอยูรอดที่เกิด

                  การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา สถาบันการศึกษาที่เปนหลักเพื่อชุมชนที่อยูในจังหวัดควรจัดบริการ
                  วิชาการ เปนผูดําเนินการจัดฝกอบรมใหเปนหลักสูตรประจําในการบริหารรายรับและรายจายของ

                  เกษตรกร หากเกษตรกรผานการอบรมจะไดรับวุฒิบัตร และการจัดอบรมตองเขาถึงเกษตรกรเพราะ
                  การที่จะใหเกษตรกรเดินทางเขาฝกอบรมตามสถานที่ราชการเปนไปไดคอนขางลําบาก

                               4.3.3   เพื่อใหเกิดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการทําการเกษตรเชน ปจจัยพื้นฐานที่ควร
                  สนับสนุน เทคโนโลยีที่เหมาะสม ขาวสารความรูทางดานการตลาด การวางแผนการผลิต การอบรม
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20