Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        ค





                  ระดับ 0.01 ไดแก เพศ การรวมกลุมหรือเปนสมาชิกของกลุมทางเศรษฐกิจ  และการออมสงผล
                  ทางบวกใหเกษตรกรมีวิธีการปรับตัวที่หลากหลายโดยเฉพาะการลดรายจายดวยการปลูกพืชผักสวน

                  ครัวและเลี้ยงสัตวไวรับประทานเอง การเพิ่มรายไดโดยการรับจางทั่วไปและปรับพฤติกรรมใชจาย
                  ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

                                4.  ปจจัย (ตัวแปร) ที่มีอิทธิพลตอแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกร   อยางมี
                  นัยสําคัญทางสถิติประกอบดวย ตัวแปรหุนเพศของหัวหนาครัวเรือนและรายไดรวมของครัวเรือน

                  เกษตรกรกลาวคือ ครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนเพศชายใชจายแบบมีแผนการนอยกวาครัวเรือน
                  ที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนเพศหญิง

                            5. แบบแผนรายไดและการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรคือ การนํารายไดที่มาจากอาชีพ
                  หลักและอาชีพเสริม ใชจายไปในวิถีการผลิต และการดํารงชีพ ในหมวดรายจายที่สําคัญคือ คาปุย

                  และสารเคมี คาอาหารและเครื่องดื่ม การปรับตัวเพื่อรักษาสมดุลในการดํารงชีพคือการปรับ
                  พฤติกรรมในการแสวงหาโอกาสทํางานเพื่อใหมีรายไดใหเพียงพอกับรายจายโดยมีขอจํากัดในเรื่อง

                  ทุนและความรูทางวิชาการ
                                 โดยสรุป เกษตรกรผูปลูกขาวจังหวัดอุบลราชธานี มีรูปแบบในวิถีการผลิตและการบริโภค

                  ที่ไมแตกตางกันเนื่องจากเปนเกษตรกรรายเล็ก มีรายไดทั้งในภาคการเกษตรและนอกภาค
                  การเกษตรในการดํารงชีพที่ไมตอเนื่องทั้งป สงผลใหเกิดการสรางสมดุลตอการดํารงชีพดวยการมี

                  อาชีพที่หลากหลายเพื่อเพิ่มรายได มีการปรับตัว และปรับพฤติกรรมในหลากหลายรูปแบบ
                  โดยเฉพาะการใชชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25