Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        9




                         วิธีการปรับตัวเพื่อเพิ่มรายไดเปนขอคิดเห็นที่มีความถี่มากที่สุดสามลําดับแรกคือ ลําดับที่1
                  การรับจางทั่วไป ลําดับที่สอง คือการปลูกพืชผักเศรษฐกิจไวขาย และลําดับที่สามคือ การคาขายเปน

                  อาชีพเสริมปรากฏในหลากหลายรูปแบบเชน ในชวงระยะเวลาที่ผานมาไดมีการรณรงคเรื่องเศรษฐกิจ
                  พอเพียงซึ่งเปนที่สนใจของชาวนา จนเปนสวนหนึ่งของวิธีการประยุกตใชในครัวเรือนโดยเฉพาะการ

                  ใชเปนทางนําในการดําเนินชีวิต เพื่อแกปญหาเรื่องเศรษฐกิจปากทองของตนเองและสมาชิกใน
                  ครัวเรือน นอกจากนี้แลวการประกอบอาชีพที่หลากหลายมากกวา 1 อาชีพเปนทางเลือกใหเกษตรกร

                  ภายใตขอจํากัดในดานคุณวุฒิที่ต่ํากวาอาชีพทั่วไป
                                3.6  ปจจัยที่มีอิทธิพลตอแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว

                  จังหวัดอุบลราชธานี
                              ปจจัยที่มีผลตอแบบแผนการใชจายของครัวเรือนตอรายไดรวมของครัวเรือนเกษตรกรอยาง

                  มีนัยสําคัญทางสถิติประกอบดวย ตัวแปรหุนเพศของหัวหนาครัวเรือนและรายไดรวมของครัวเรือน
                  เกษตรกรกลาวคือ ครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนเพศชายมีแนวโนมที่จะใชจายแบบมีแผนการ

                  นอยกวาครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนเพศหญิง นอกจากนี้ยังพบวา เมื่อครัวเรือนเกษตรกรมี
                  รายไดเพิ่มขึ้นจะสงผลใหสัดสวนการใชจายของครัวเรือนตอรายไดรวมของครัวเรือนเกษตรกรลดลง

                  เนื่องจากการมีรายไดที่พอเพียงสามารถจายชําระคาปจจัยที่จําเปนในการดํารงชีวิตไดในลักษณะ
                  คาใชจายคงที่แตมีความสามารถในการหารายไดมากขึ้น ทําใหมีเงินเหลือในลักษณะการเก็บออม

                  ขอมูลสวนนี้เปนขอมูลสําคัญสําหรับการวิเคราะหแบบแผนการใชจายของครัวเรือนในหัวขอถัดไป
                               3.7 วิเคราะหแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว

                         การเปลี่ยนแปลงแบบแผนวิถีดําเนินชีวิตในการทํามาหากินและการปรับตัว ความเชื่อ
                  ความคิด วัฒนธรรมประเพณี การศึกษาของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี อันเปนไปตามกระแส

                  การพัฒนาที่วิ่งตามกระแสโลกาภิวัตนที่มีอิทธิพลอยางหลีกเลี่ยงไมไดนั้น เกษตรกรตองดิ้นรนหาทาง

                  ออกและปรับเปลี่ยนวิธีการจากการผลิตเพื่อการยังชีพเปนการผลิตในเชิงพาณิชยเพิ่มมากขึ้นเห็นได
                  จากการรับเอาเทคโนโลยีมาใชในการผลิต หรือแทนแรงงานที่ลดนอยลง แบบแผนนี้เปนแนวทางใน
                  การตอสูกับการดํารงชีวิตที่มีคาใชจายในสองหมวดหลักสําคัญ เพราะอยางไรก็ตามเกษตรกรก็ยังคง

                  ตองเลือกทําการเกษตรตอไปเพราะเปนอาชีพหลักอาชีพเดียวที่สามารถทําไดและเปนที่มาของปจจัย

                  สี่ที่สําคัญ และสรางรายไดในการดํารงชีพ
                         รายจายที่จายไปของเกษตรกรมีหมวดรายจายที่สําคัญ 2 ประเภทคือรายจายที่ใชในดานการ
                  ผลิตที่เปนอาชีพหลักนํามาซึ่งรายได กับรายจายที่เปนสิ่งจําเปนในปจจัย 4  ของมนุษย คาใชจายที่

                  จายไปที่นอกเหนือจากปจจัย 4 ยอมตองพิจารณาใหละเอียดถี่ถวนอยางไรก็ตามภาพรวมในระดับมห

                  ภาคยอมมาจากระดับจุลภาคซึ่งก็คือหนวยครัวเรือน ซึ่งเปนฐานรากในการสงผลตอความมั่นคงของ
                  อาหารในฐานะหนวยผลิตปฐมภูมิ จะเห็นวาแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรกับการสราง
                  สมดุลในการดํารงชีพมีปจจัยหลายอยางเขามาเกี่ยวของกอนที่เกษตรกรจะจายไปเกษตรกรตองมี

                  รายไดเขามากอนหรือเกษตรกรตองพิจารณารายไดที่มีอยูกอน  จากการอภิปรายจําลองได ดังภาพที่

                  1
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16