Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        12




                  มากกวาครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนเพศชาย และครัวเรือนเกษตรกรที่มีรายไดเพิ่มขึ้นสงผลตอ
                  สัดสวนการใชจายของครัวเรือนตอรายไดรวมของเกษตรกรลดลง เพื่อใหเกิดความสมดุล หนวยงานที่

                  เกี่ยวของควรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูในกระบวนการวางแผนการใชจายที่สามารถสรางสมดุลในการ
                  ดํารงชีพดานเศรษฐกิจได

                         1.1.5 จากผลการวิจัยที่พบวา เกษตรกรมีขอจํากัดในดานการศึกษา คือจบการศึกษาขั้นต่ํา
                  ระดับประถมศึกษา ทําใหเกิดขอจํากัดทางดานการเรียนรูตอเนื่องตลอดชีวิต โดยเฉพาะการเรียนรู

                  จากประสบการณในวิถีการผลิตและการบริโภคที่พอเพียง ภาครัฐควรสรางกลไกสนับสนุนให
                  เกษตรกรตระหนักในการพึ่งพาตนเอง  เชน ความรูและเทคนิควิธีการผลิต โครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ

                  ในดานน้ํา  การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต การใชแรงงานแลกเปลี่ยนระหวางครัวเรือนของ
                  เกษตรกร ซึ่งจะชวยลดการพึ่งพาจากภาครัฐ การชวยเหลือควรเนนใหเกษตรกรรูจักวิธีการนํา

                  ทรัพยากรไปใชในการสรางอาชีพ สรางทักษะในการพึ่งตนเองใหได
                              4.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยตอไป

                         การมีแบบแผนรายไดและการใชจายที่ดี การวิจัยทางดานพฤติกรรมของเกษตรกรเพื่อใหกับ
                  เกษตรกรไดปรับแนวคิด ควรดําเนินการ เนื่องจากการวิจัยนี้เพื่อหาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ

                  การผลิตขาวในลักษณะการลดตนทุนและการใชประโยชนจากแรงงานที่มีอยูในครัวเรือนใหเกิด
                  ประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อลดขอจํากัดในการขาดแคลนแรงงาน ตลอดจนการปลูกพืชผักเศรษฐกิจใน

                  วงรอบการผลิตเพื่อใหเกษตรกรมีรายไดอยางตอเนื่องทั้งป เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับเกษตรกรใน
                  ลักษณะที่ใหเกิดผลิตภาพที่มากขึ้นไปไปในแนวทางการลดตนทุนแตยังคงไวซึ่งคุณภาพขาว โดย

                  ศึกษาเกษตรกรเปนรายกรณี ที่เนนการปรับพฤติกรรมที่สอดคลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                  เพื่อนํามาเปนแบบอยางและถายทอดความรูใหกับเกษตรกรรายอื่นๆ

                              4.3 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
                         ตนเหตุของปญหาคือขอจํากัดในดานคุณวุฒิของเกษตรกรผูปลูกขาว ที่ต่ํากวาอาชีพทั่วไป สิ่ง

                  นี้จะสงผลตอวิธีคิด แลวนําไปสูพฤติกรรมที่เปนปญหาตอเนื่องกันไดแก การวางแผน ภาระหนี้สิน
                  ความสามารถในการพึ่งพาตนเองลดนอยลง อันจะเปนอุปสรรคตอแบบแผนในการดํารงชีวิต

                  โดยเฉพาะแบบแผนการใชจาย การนําเสนอขอเสนอแนะในเชิงนโยบายนี้ผูวิจัย จึงเสนอในลักษณะ
                  ของตอบคําถามวา ทําอยางไรจะทําใหเกษตรกรสามารถบริหารจัดการรายไดที่หามาไดใหเกิดสมดุล

                  ในการดํารงชีพ ใหมีศักยภาพในการทํางานไดหลากหลายและเกิดเปนรายไดเพื่อดํารงชีพภายใต
                  ปจจัยแวดลอมที่มาจากสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อลดการพึ่งพาของรัฐ การศึกษาของ

                  เกษตรกรตลอดชีวิตเพื่อเปนทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อชวยใหเกษตรกรมีผลิตภาพแรงงาน
                  เพิ่มขึ้น สามารถทํางานทางดานการเกษตรใหมีคุณภาพควรจะไดรับการสงเสริมและชวยเหลืออยาง

                  ตอเนื่อง สวนการดํารงชีวิตนั้นมุงใหเกษตรกรปรับพฤติกรรมของเกษตรกรเอง ใหสามารถปรับตัวได
                  มากขึ้นเพื่อรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปจจุบันและในอนาคตที่ไมมีแนวโนมวาจะลดลง

                  ได
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19