Page 9 -
P. 9

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        7




                  ที่เพิ่มขึ้นเพื่อใหผลผลิตมากโดยใชปจจัยทางดาน เครื่องจักรเชนรถไถนา การจางแรงงาน ปจจัยการ
                  ผลิตพวกปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืชเปนตน เมื่อวิถีการผลิตเปลี่ยนแปลงไปมีการลงทุนที่สูงขึ้นธนาคาร

                  เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรจึงเปนแหลงเงินทุนใหกูยืมที่เกษตรกรชาวนาที่เปนกลุม
                  ตัวอยางในงานวิจัยนี้ เปนลูกหนี้มากที่สุดในระบบ   ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาภาระหนี้สินของครัวเรือน

                  เกษตรกรเปนผลจากสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไป การปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตนอกจาก
                  ผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือนแลวยังผลิตเพื่อการคา

                                3.3 ความสามารถในการออมของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว
                            ความสามารถในการออมของครัวเรือนเกษตรกรพบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมมีเงิน

                  ออม เนื่องจากรายไดของเกษตรกรคอนขางต่ํา เพราะเกษตรกรตองนําเงินไปใชในการทําการเกษตร
                  และชําระหนี้สิน สิ่งเหลานี้สงผลตอความสามารถในการออมที่ลดลง  ถึงแมเกษตรกรที่มีเงินออม แตมี

                  ระยะเวลาการออมไมแนนอน เนื่องจากเกษตรกรมีรายไดไมตอเนื่อง สําหรับเกษตรกรที่พอมีเงินออม
                  อยูบาง รูปแบบในการออมสวนใหญฝากธนาคาร ธนาคารที่เกษตรกรนําไปฝากมากที่สุดคือธนาคาร

                  เกษตรและสหกรณการเกษตร เนื่องจากเปนสถาบันการเงินที่ทําธุรกรรมกับเกษตรกรเปนหลัก และ
                  เกษตรสามารถเขาถึงได รองลงมาเกษตรกรนําเงินฝากไวกับกลุมออมทรัพย

                         จากการมี จํานวนแหลงที่มาของรายไดไมมากนัก อีกทั้งรายไดที่ไดมาก็ไมตอเนื่องทั้งป ทั้ง
                  ในภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตรเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกษตรกรผูปลูกขาวมีขีด

                  ความสามารถในการออมลดลงซึ่งสงผลตอแบบแผนรายไดและการใชจาย
                               3.4 วิธีการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว

                          แนวทางหรือวิธีการที่ใชในการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัด
                  อุบลราชธานีเพื่อสรางสมดุลในการดํารงชีพที่นอกเหนือจากการปลูกขาวที่เปนพืชเศรษฐกิจหลักมี

                  วิธีการปรับตัวสูงสุดอยูในระดับปานกลางโดยมีแนวทางเรียงตามความสําคัญคะแนนเฉลี่ยจากมากไป
                  หานอยสามลําดับแรก ดังนี้  ลําดับที่1  การทําไรนาสวนผสม  ลําดับที่ 2  การปลูกพืชเศรษฐกิจ  และ

                  ลําดับที่ 3 การเพิ่มมูลคาผลผลิตดวยการแปรรูป
                             ในการแสวงหารายไดเพื่อการดํารงชีพแนวทางหรือวิธีการที่ใชในการปรับตัวของครัวเรือน

                  เกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อสรางสมดุลในการดํารงชีพที่นอกเหนือจากการปลูก
                  ขาวที่เปนพืชเศรษฐกิจหลักมีความสําคัญสูงสุดอยูในระดับปานกลาง โดยมีแนวทางเรียงตาม

                  ความสําคัญในการปฏิบัติจากคาเฉลี่ยมากไปหาคาเฉลี่ยนอยสามลําดับ ดังนี้ลําดับที่ 1 เนนใชแรงงาน
                  ในครัวเรือนเพื่อลดการจางแรงงาน  ลําดับที่ 2 หาอาหารตามแหลงอาหารธรรมชาติ และลําดับที่ 3

                  การลดรายจายที่จําเปนลงสรางนิสัยการประหยัดและปลูกพืชผักไวรับประทานเอง
                         ดวยสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคโลกาภิวัตน การปรับตัวของเกษตรกร

                  ในการเพิ่มรายไดและลดรายจาย คือการหารายไดพิเศษนอกฤดูกาลทํานาเปนวิธีการที่ไดรับความ
                  นิยมจากเกษตรกรเนื่องจากสามารถเพิ่มรายไดอีกทางหนึ่งเชน การทํางานในโรงงานที่ตองการ

                  แรงงานระดับลางหรือที่เรียกวาแรงงานไรฝมือ ไมไดจํากัดวุฒิการศึกษา เพียงแตตองการแรงงานซึ่ง
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14