Page 4 -
P. 4

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        2




                  กิจกรรมทางการเกษตรไดอยางตอเนื่อง การปรับตัวที่สําคัญเพื่อใหทนตอแรงกดดันจากปจจัยตางๆ
                  ที่ยึดโยงอยูกับสถานการณดานเศรษฐกิจ สังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไดแก (1) การสรางความ

                  หลากหลายในการผลิตผลผลิตทางการเกษตร  (2) การเปลี่ยนชนิดของพืชหรือพันธุสัตว เพื่อใหสอด
                  รับกับสภาพพื้นที่ สภาวะการตลาด และการพัฒนาของเทคโนโลยี (3) การลดความเสี่ยงทาง

                  การตลาด (4) การเปลี่ยนชวงเวลาในการประกอบกิจกรรมทางการเกษตร การปรับเปลี่ยนการไถ
                  พรวนดินมาเปนแบบการอนุรักษความชื้นและความอุดมสมบูรณของดิน รวมทั้งการผลิตที่มีความ

                  หลากหลาย
                             สวนการปรับตัวดานตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นซึ่งเกิดจากอัตราคาจางแรงงาน ปญหาการ

                  ขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตรยังคงเปนปญหาที่สําคัญในระดับตน ซึ่งเกษตรกรก็จะทําการ
                  ปรับตัวโดยใชแรงงานจากเครื่องจักรแทนการจางแรงงานคน การหารายไดจากการทํากิจกรรมนอก

                  ภาคการเกษตร ก็เปนอีกหนึ่งแนวทาง กิจกรรมที่เกษตรกรใชในการสรางรายไดประกอบดวยการ
                  คาขาย การรับจางใชแรงงาน เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต เกษตรกรสวนใหญเดินทางออกนอก

                  พื้นที่เพื่อไปทํางานสรางรายได นํามาใชเปนเงินทุนในการประกอบกิจกรรมทางการเกษตรในชวง
                  ฤดูกาลผลิตที่จะถึง และนํามาใชในการดํารงชีวิตประจําวัน ในชวงที่ไมไดมีรายไดจากกิจกรรมทาง

                  การเกษตร (มณีมัย ทองอยู 2546)
                             การปรับตัวที่สําคัญของเกษตรกรจึงเปนการปรับตัวในระบบการผลิตและการดํารงชีวิต

                  เพราะการที่เกษตรกรมีการสงบุตรหลานไปศึกษาในระดับที่สูงขึ้น เมื่อบุตรหลานสําเร็จการศึกษาแลว
                  บุตรหลานของเกษตรกรเหลานั้นไมไดกลับเขาสูระบบการเกษตร แตประกอบอาชีพนอกภาค

                  การเกษตร แลวสงเงิน หรือรายไดที่ไดรับจากการประกอบอาชีพสงกลับมาในภาคการเกษตรเพื่อให
                  ผูปกครองที่เปนเกษตรกรอยูนั้นไดใชสําหรับเปนทุนในการประกอบกิจกรรมทางการเกษตร ซึ่งก็นับ

                  ไดวาเปนอีกรูปแบบหนึ่งของการสรางรายไดของเกษตรกรที่มาจากนอกภาคการเกษตรอีกทางหนึ่ง
                  ดวย

                           ถึงแมประเทศไทยจะมีศักยภาพการผลิตสินคาเกษตรที่เปนอาหารพอเพียง  และมีเหลือ
                  สงออกเพื่อเลี้ยงประชากรโลกมาโดยตลอด แตปจจัยการผลิตตางๆ ไดสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ในขณะที่

                  ราคาสินคาเกษตรขยับสูงขึ้นไมสมดุลกับตนทุนการผลิต  รวมทั้งคาครองชีพที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา
                  สงผลตอความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของเกษตรกรผูปลูกขาวเปนอยางมาก เกษตรกรรายยอยยัง

                  ตองยืนอยูในจุดที่ยากจน  มีขอจํากัดในการทํากินหรือประกอบอาชีพเสริมอื่น ดังนั้นการหาแนวทาง
                  เพื่อสรางความเขมแข็งใหเกษตรผูปลูกขาวใหพึ่งพาตนองได  ทั้งในดานการผลิต  การบริหารจัดการ

                  ผลผลิต การบริหารจัดการรายรับและรายจาย การสงเสริมพฤติกรรมการดํารงชีพดวยความพอเพียง
                  เพื่อใหเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองไดจึงนาจะเปนการแกปญหาที่เปนทางออก เพราะหาก

                  เกษตรกรไมสามารถพึ่งพาตนเองได ก็จะไมมีวันหลุดพนจาก “ความยากจน การถูกเอารัดเอาเปรียบ”
                  แตการที่จะพึ่งพาตนเองไดนั้นนอกจากตองปรับตัวตามกระแสโลกาภิวัตนแลว ผูวิจัยเห็นวา ปจจัย

                  ภายในอีกสวนหนึ่งมาจากพฤติกรรมการบริโภคหรือแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรเอง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9