Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว








                                                   บทสรุปสําหรับผูบริหาร


                    โครงการ “แบบแผนรายไดและการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาวกับการสราง

                                    สมดุลในการดํารงชีพ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี”

                                                    --------------------------

                                                                               โดย ดร.สุภาวดี  ขุนทองจันทร


                  1. ที่มาของโครงการ

                                ภาคเกษตรกรรมเปนภาคสวนที่มีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ พื้นที่การเกษตรของ
                  ไทยมีประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ การเกษตรจึงเปนแหลงรองรับแรงงานที่ใหญ

                  ที่สุด ในป 2554 มีแรงงานภาคเกษตรรอยละ 45.23  (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2554) สงผล
                  กระทบตอเศรษฐกิจสวนรวม ประสิทธิภาพการผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ความตองการสินคาเกษตรและ

                  อาหารมีความหลากหลายมากขึ้น ผลจากประชากรของโลกที่เพิ่มมากขึ้น ภาคการเกษตรจึงมี
                  ความสําคัญตอการสรางความมั่นคงทางดานอาหาร  โดยเฉพาะขาวเปนทั้งอาหารหลักของคนไทย

                  และอาหารของประชากรโลก   และยังเปนสินคาสงออกที่สําคัญของไทย เกษตรกรผูปลูกขาวจึงเปนผู
                  มีบทบาทสําคัญในการผลิตเพื่อการยังชีพและการสงออก ปการเพาะปลูก 2555/2556  พื้นที่ปลูกขาว

                  ของไทยรวมทั้งสิ้น 65.158 ลานไร ผลผลิต รวมทั้งประเทศ 27.008 ลานตันขาวเปลือก (สํานักวิจัย
                  และพัฒนาขาว 2557) ปริมาณการสงออกขาวป 2556 ของไทย 133,852 ลานบาท (สมาคมผูสงออก

                  ขาวไทย 2557)
                            การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมอยางตอเนื่องได ไดสงผลกระทบไปทุกภาคสวน

                  เปนทั้งโอกาสและภัยคุกคามที่รายแรง โดยเฉพาะการดํารงชีพของเกษตรกรผูปลูกขาว ที่ยังตองพึ่งพิง
                  ปจจัยภายนอกทางดานการตลาด กอใหเกิดทั้งผลดีและผลเสียเพราะแมจะกอใหเกิดความ

                  เจริญกาวหนาในทางกลับกันก็กอใหเกิดความกดดันในวิถีชีวิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิตและการบริโภค
                  ในครัวเรือน ทั้งนี้เนื่องจากเกษตรกรผูปลูกขาวตองเผชิญกับความซับซอนที่มีมากขึ้น  เชน ราคา

                  พืชผลทางการเกษตรตกต่ํา ขาดความรูในดานการจัดการระบบการผลิต  ขาดการวางแผนการใช
                  ปจจัยการผลิต มีขอจํากัดในดานการตลาด ทั้งนี้ไมนับรวมการเผชิญความผันผวนจากธรรมชาติ

                  เกษตรกรผูปลูกขาวจึงตกอยูในสภาพออนแอ มีขอจํากัดในการพึ่งพาตนเองอยาง  คํากลาวที่วา
                  “เกษตรกรยากจน ถูกเอารัดเอาเปรียบ” ก็ยังอยูคูกับสังคมไทยมาโดยตลอด

                            การดํารงอยูเกษตรกรผูปลูกขาวจึงตองตอสูกับความยากลําบากทั้งในระตองปรับตัวมี
                  มากมายอาทิ ปจจัยดานสังคมที่มีเงื่อนไขทางดานเศรษฐกิจ สภาพของครอบครัว เงื่อนไขทางดาน

                  การตลาด การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ปจจัยทางดานการขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตร ที่มี
                  เงื่อนไขจากคาแรงที่เพิ่มขึ้น ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ ที่มีเงื่อนไขจาก แหลงทุน ราคาผลผลิต ตนทุน

                  ในการผลิตที่เพิ่มขึ้น ในสภาวะที่ยากลําบากนี้ เกษตรกรพยายามหาแนวทางเพื่อใหสามารถประกอบ
   1   2   3   4   5   6   7   8