Page 5 -
P. 5
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3
เพราะทายที่สุดปจจัยภายในสวนนี้จะนําไปสูการลดตนทุนการผลิต มีรายไดคงเหลือเพิ่มขึ้นสงผลตอ
การดํารงชีวิตและการบริหารรายรับรายจายที่สมดุล
จังหวัดอุบลราชธานีเปนจังหวัดที่ประชากรสวนใหญทําการเกษตร มีพื้นที่ทําการเกษตร
ทั้งหมด 5.8 ลานไร โดยเฉพาะการทํานาซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจหลักสําคัญที่สุดของประเทศไทย มีสวน
สําคัญตอการเพิ่มปริมาณการสงออก เพราะพื้นที่ปลูกขาวประมาณ 3,837,237 ไร หรือคิดเปนรอยละ
81 ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมดของจังหวัด (กรมการขาว 2555 : ออนไลน) การดํารงชีพของ
เกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานีในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเปนผลจากโลกาภิวัตน ครัวเรือนเกษตรกร
ยังคงประสบปญหาหลายอยาง โดยเฉพาะปญหาทางดานเศรษฐกิจที่รายไดมาจากการทําการ
เกษตรกรรม กระแสการบริโภคนิยม ครัวเรือนจึงตกอยูในสภาพออนแอ เปนหนี้สิน ที่มาจากการ
ลงทุนปจจัยการผลิตที่เนนการผลิตเพื่อการพาณิชย สงผลใหรายรับไมพอกับรายจาย ขาดการวาง
แผนการใชจายในครัวเรือน (สํานักงานสถิติจังหวัดอุบลราชธานี 2557) สาเหตุที่เปนเชนนี้สวนหนึ่ง
มาจากพฤติกรรมการดํารงชีพของเกษตรกรเองซึ่งเปนพฤติกรรมภายในซึ่งสามารถปรับได
จากผลกระทบทางดานตนทุน และพฤติกรรมการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรที่ยังมี
ขอจํากัดรายรับไมพอกับรายจาย อีกทั้งงานวิจัยที่ผานมาทั้งของ วิดาวรรณ เพ็งแกว (2547) สุดใจ
จงวรกิจวัฒนา (2554) สําราญ สรุโณ (2545) และนักวิจัยทานอื่น ยังไมเห็นภาพความชัดเจนในแบบ
แผนของครัวเรือนที่เปนรูปแบบไวรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องทางดานเศรษฐกิจและสังคม
เนื่องจากปจจัยทางดานสภาพเศรษฐกิจและสังคม ในแตละพื้นที่จะแตกตางกันออกไปอีกทั้งเกษตรกร
ภาคอีสานเปนเกษตรกรที่มีขอจํากัดทางดานการศึกษาซึ่งเปนปจจัยที่มีสวนสําคัญในการคิดวิเคราะห
เพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ ทําใหผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรกับ
การสรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม เพราะหากแบบ
แผนการใชจายของครัวเรือนมีแบบแผนที่ดียอมสงผลตอการลดตนทุนทั้งในระบบการผลิต และมี
คาใชจายพอเพียงในระดับการดํารงชีพ
งานวิจัยเรื่องนี้จึงเริ่มตนที่ การศึกษาพฤติกรรมและแนวทางที่ทําใหเกษตรกรพึ่งพาตนเองใน
ระดับปจเจกบุคคลได เพื่อเปนตนแบบใหเกษตรกรรายอื่นๆ ไดประยุกตใชเปนแนวทางใหเกิดการ
พึ่งพาตนเองในเบื้องตน เพราะนอกจากเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองไดแลว ผลที่ไดจากงานวิจัยจะ
ทําใหภาครัฐไดขอมูลเพื่อไปกําหนดเปนนโยบาย และสรางกลไก หรือมาตรการตางๆ โดยการจัดหา
ปจจัยพื้นฐานและภารกิจสนับสนุน ในอนาคตใหเปนไปในทิศทางที่เหมาะสมบนพื้นฐานขอมูลที่เปน
จริงจากผลการวิจัย ยอมจะเปนการแกปญหาไดตรงจุด ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ
เสริมสรางความเขมแข็งของเกษตรกรก็จะสามารถเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม เพราะหากเกษตรกรอยู
ดีมีสุขกอเกิดคุณภาพชีวิต ยอมเปนกลไกถาวรในการสรางความมั่นคงทางดานอาหารเพื่อธํารงรักษา
ไวในอาชีพที่เปรียบเสมือนครัวของมวลมนุษย และเปรียบไดดั่งกระดูกสันหลังของชาติ